สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ห้องสมุดดาราศาสตร์

พจนานุกรมดาราศาสตร์

ศัพท์ดาราศาสตร์น่ารู้ พร้อมศัพท์บัญญติและความหมาย

วารสารทางช้างเผือก

วารสารฉบับรายสามเดือนของสมาคมดาราศาสตร์ไทย

สารพันคำถาม

รวมคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับดาราศาสตร์

อ้าว.. เหรอ

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับดาราศาสตร์

จริงหรือไม่ ใช่หรือมั่ว

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีการเผยแพร่กันในโซเชียลมีเดีย

ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้า

ข้อมูลด้านกายภาพและวงโคจรของวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ฯลฯ

ข้อมูลทั่วไป

บทความ

หางลึกลับของดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เอ 3

(15 ต.ค. 67) ช่วงนี้ (กลางเดือนตุลาคม) นับว่าเป็นเวลาของดาวหางอย่างแท้จริง ดาวเด่นบนฟากฟ้าในขณะนี้เห็นจะไม่มีใครเกินดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เอ 3 (C/2023 A3) ที่เพิ่งหนีพ้นแสงจ้าของดวงอาทิตย์ออกมา ทำให้มีโอกาสอยู่ห่างขอบฟ้า ...

ยาถอนพิษดาวหาง

(29 ส.ค. 67) ในบรรดาดาวหางทั้งหมดที่เคยมาอวดโฉมต่อสายตามนุษย์ ดวงที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เห็นจะไม่มีใครเกิน ดาวหางแฮลลีย์ ซึ่งมีบันทึกการพบเห็นมาตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล ดาวหางดวงนี้มีคาบโคจร 76 ปี หมายความว่าทุก 76 ปีจะมาอวดโฉมให้ชาว ...

ดาวพระเจ้าจอร์จ

(19 ส.ค. 67) ในปี ค.ศ. 1781 วิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษได้ตั้งกล้องโทรทรรศน์ขึ้นส่องท้องฟ้าเพื่อค้นหาดาวหาง ด้วยกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.2 นิ้วที่ทำขึ้นเอง เขาได้ค้นพบวัตถุดวงหนึ่งบนท้องฟ้า ...

สาระเก็บตก จากมหกรรมแสงเหนือ

(13 พ.ค. 67) สุดสัปดาห์ (11-12 พฤษภาคม 2567) ที่ผ่านมา เรื่องหนึ่งที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากก็คือเรื่องของแสงเหนือที่มีการพบเห็นกันในหลายส่วนของโลก มีการแชร์การโพสภาพแสงเหนือสุดตระการตากันเกลื่อนเฟซบุ๊ก และแฮตช์แท็ก #พายุสุริยะ ก็ติดอันดับในเอกซ์อยู่นาน ...

ระดับความรุนแรงของพายุแม่เหล็กโลก

(11 พ.ค. 67) เมื่อดวงอาทิตย์เกิดการปะทุขึ้น จะเกิดพายุของอนุภาคพลังงานสูงสาดออกไปในอวกาศ พายุนี้เมื่อพัดมาถึงโลกจะทำให้สนามแม่เหล็กโลกปั่นป่วนและส่งผลบางอย่างต่อโลก ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...

รู้จักดาวหาง

(5 มิ.ย. 58) มนุษย์รู้จักดาวหางมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล บันทึกเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับดาวหางเป็นบันทึกของนักดาราศาสตร์ชาวจีนที่เขียนรูปดาวหางลงบนผ้าไหม อยู่ในยุคราชวงศ์ชางของจีน ซึ่งมีอายุถึงกว่าสามพันปีมาแล้ว บันทึกเรื่องของดาวหางจากยุโรปก็มีมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาลเช่นกัน ในอดีต ผู้คนยังไม่รู้จักดาวหางมากไปกว่ารู้ว่าเป็นก้อนอยู่บนฟ้าที่ทอดหางยาว คนในยุคนั้นส่วนใหญ่มองดาวหางไปในทางอัปมงคล เช่นเป็นลางร้าย เป็นทูตแห่งความตายและสงคราม ...

ดาวหางยักษ์ในอดีต

(5 มิ.ย. 58) ในบันทึกเกี่ยวกับดาวหางนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดาวหางหลายดวงที่ได้รับการขนานนามว่า ดาวหางยักษ์ ชื่อนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกดาวหางที่สว่างมากเป็นพิเศษ มองเห็นได้สะดุดตาแม้เพียงแหงนหน้าขึ้นมองท้องฟ้า ดาวหางยักษ์บางดวงถึงกับมองเห็นได้แม้ในเวลากลางวัน การที่ดาวหางดวงใดจะสว่างจนได้ชื่อว่าเป็นดาวหางยักษ์ได้นั้น ไม่จำเป็นต้องมีขนาดใหญ่เสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสามอย่าง คือ มีนิวเคลียสที่ใหญ่และไวต่อการกระตุ้น เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มาก ...
.
4
.

อริสโตเติล

(1 ม.ค. 40) อริสโตเติลเกิดเมื่อประมาณ 384 หรือ 383 ปีก่อนคริสตกาลที่เมือสตากีรา (Stagira) ในแคว้นมาเซโดเนีย (Macedonia) ซึ่งเป็นแคว้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือสุดชองทะเลเอเจียน (Aegaeen Sea) ของประเทศกรีก เป็นบุตรชายของนายนิโคมาคัส (Nicomachus) ซึ่งมีอาชีพทางการแพทย์ประจำอยู่ที่เมืองสตาราเกีย และยังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของพระเจ้าอมินตัสที่ 2 (King Amyntas II) แห่งมาเซโดเนีย ...

การสังเกตดวงจันทร์

ทุกคนรู้จักดวงจันทร์ ส่วนใหญ่อาจเคยเห็นภูเขาสูง หลุมใหญ่น้อยจำนวนมากบนดวงจันทร์โดยดูผ่านกล้องดูดาว แล้วเกิดความรู้สึกประทับใจต่าง ๆ กัน แต่หลายคนคงไม่ทราบล่วงหน้าว่าในแต่ละคืนดวงจันทร์อยู่ตรงไหน มีลักษณะอย่างไร คืนนี้จะเห็นดวงจันทร์หรือเปล่า ตอนที่ออกไปกลางแจ้งดูท้องฟ้าดวงจันทร์กำลังขึ้นหรือว่าอยู่สูงบนฟ้า หรือว่ากำลังจะลับขอบฟ้าทางตะวันตก จะมีดาวสว่างอยู่เคียงข้างในลักษณะ "ดาวเคียงเดือน" หรือไม่ แสงจันทร์จะรบกวนการดูดาวอื่น ๆ เพียงใด 
...

รูปร่างลักษณะของดวงจันทร์บนฟ้า

ดวงจันทร์เป็นวัตุท้องฟ้าที่อยู่ใกล้โลกที่สุด เปลี่ยนตำแหน่งและเปลี่ยนรูปร่างเร็วมาก กล่าวคือ ในช่วงข้างขึ้น รูปร่างจะปรากฏโตขึ้นจากเป็นเสี้ยวเล็กที่สุดเมื่อวันขึ้น ค่ำ ถึงโตที่สุดเป็นรูปวงกลมหรือจันทร์เพ็ญเมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ ที่เป็นเช่นนี้เพราะในแต่ละวัน ดวงจันทร์ด้านสว่างที่หันมาทางโลกมีขนาดไม่เท่ากัน สัดส่วนของด้านสว่างที่สะท้อนแสงมาทางโลกมีขนาดโตขึ้นสำหรับวันข้างขึ้น และมีสัดส่วนน้อยลงสำหรับวันข้างแรม 
...

ตามล่าละอองดาว

โครงการอวกาศสตาร์ดัสต์ (Stardust) หรือ "ละอองดาว" คือโครงการที่จะส่งยานอวกาศในราวเดือนกุมภาพันธ์ 2542 ไปยังดาวหางที่มีชื่อว่า วีล-ทู (Wild-2) โดยคาดว่าจะไปถึงในเดือนมกราคม 2547 วิธีส่งยานไปนั้น จะใช้วิธีที่เรียกว่า Gravity Assist คืออาศัยแรงเหวี่ยงจากสนามแรงโน้มถ่วงของโลกมาช่วยผ่อนแรง ...
.
4
.

จากเว็บไซต์อื่น

  • Internet STELLAR DATABASE ฐานข้อมูลดาวฤกษ์
  • The NGC/IC Product Public Access NGC/IC Database ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้าตามบัญชี NGC/IC
  • List of largest optical reflecting telescopes อันดับของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลก
  • Forthcoming Close Approaches To The Earth รายชื่อดาวเคราะห์น้อยที่จะเฉียดเข้าใกล้โลกภายใน 33 ปีข้างหน้า
  • Record-setting Solar Flares อันดับการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์เรียงตามความรุนแรง โดย SpaceWeather.com
  • ดาวเคราะห์น้อย ข้อมูลดาวเคราะห์น้อย เฉพาะดวงที่ใหญ่ที่สุด 40 ดวง
  • Current solar images ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ปัจจุบัน โดยดาวเทียมโซโฮ
  • Solar and Heliospheric Observatory ภาพดวงอาทิตย์ในเวลาปัจจุบัน จากดาวเทียมโซโฮ
  • Big Bear Solar Observatory ภาพถ่ายดวงอาทิตย์รายวันจากหอสังเกตการณ์บิกแบร์
  • List of Potentially Hazardous Asteroids รายชื่อดาวเคราะห์น้อยอันตราย จากศูนย์ดาวเคราะห์น้อยฮาร์วาร์ด
  • Observable Comet ข้อมูลด้านตำแหน่งและองค์ประกอบวงโคจรของดาวหางที่มองเห็นได้ในปัจจุบัน