สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ปรากฏการณ์ท้องฟ้า

วันนี้ (29 พฤศจิกายน 2566)
  • ดวงจันทร์มีเดคลิเนชันไปทางเหนือมากที่สุด (28.2°)

ท้องฟ้าขณะนี้

ข่าวดาราศาสตร์

ดาวเคราะห์ที่คาบโคจรยาวนานที่สุดของเทสส์

(13 พ.ย. 66) การค้นพบของกล้องเทสส์เมื่อไม่นานมานี้ ได้พบดาวเคราะห์ต่างระบบดวงหนึ่ง แต่มีสมบัติอยู่ต่างจากดาวเคราะห์ส่วนใหญ่อย่างสิ้นเชิง แทนที่จะเป็นดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์แม่อย่างใกล้ชิด แต่ดาวเคราะห์ดวงนี้มีคาบโคจรนานถึง 482 ...

อีกเซอร์ไพรส์จากลูซี

(9 พ.ย. 66) วัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องปกติในระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์พบวัตถุประเภทนี้มาแล้วหลายดวง เช่นนิวเคลียสของดาวหาง 67พี/ชูรูยมอฟ-เกราซีเมนโค ดาวอาร์โรคอต ส่วนบริวารของดาวเคราะห์น้อยก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์น้อยหลายดวงที่มีบริวาร แต่บริวารดาวเคราะห์น้อยที่เป็นวัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องใหม่อย่างแท้จริง ดิงคิเนชเป็นวัตถุดวงแรกใน...

ดาวศุกร์อาจเคยมีการเคลื่อนของแผ่นเปลือกดาว

(8 พ.ย. 66) นักดาราศาสตร์จากสถาบันดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในฮูสตัน นำโดย แมตต์ เวลเลอร์ ได้ศึกษาดาวศุกร์แล้วพบว่าองค์ประกอบของบรรยากาศของดาวศุกร์ในปัจจุบันดูจะไม่สอดคล้องกับเปลือกดาวแบบแผ่นเดียว จึงได้สร้างแบบจำลองดาวศุกร์ด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อหาว่ามีเงื่อนไขใด...

ดูเพิ่ม

บทความ

เสียงจากดาวตก เรื่องจริงหรือคิดไปเอง?

(12 เม.ย. 66) โดยปกติ ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์เป็นปรากฏการณ์แบบหนังเงียบ มีเพียงภาพให้มองเห็นเท่านั้น ไม่ว่าปรากฏการณ์นั้นจะมีความรุนแรงหรือทรงพลังเพียงใด จึงไม่มีใครเคยได้ยินเสียงสุริยุปราคา เสียงซูเปอร์โนวา หรือเสียงดาวหาง เรารับรู้ปรากฏการณ์เหล่านั้นผ่านทางแสง ...

อาร์เทมิส บันไดสามขั้นสู่การนำมนุษย์กลับไปเดินบนดวงจันทร์

(31 ส.ค. 65) อาร์เทมิส 1 เป็นภารกิจแรกของโครงการอาร์เทมิส ซึ่งมีเป้าหมายใหญ่อยู่ที่การนำมนุษย์กลับไปเยือนดวงจันทร์อีกครั้ง โครงการอาร์เทมิสต่างจากโครงการอะพอลโลในหลายมิติ อะพอลโลมีเป้าหมายเพียงนำมนุษย์ไปให้ถึง ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และนำ ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...

สนับสนุนโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บริษัท โกรวิ่งพอยท์ โอเอ แอนด์ เน็ทเวิร์ค จำกัด

บทความพิเศษ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับเวลามาตรฐานประเทศไทย
พระมหากษัตริย์ไทยกับดาราศาสตร์
200 ปี พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สื่อการเรียนรู้

กิจกรรมถัดไป

จากทางบ้าน

planet conjunction
จาก.. ปนิวัตร เส้นเกษ
(11 มี.ค. 66)

ภาพอื่น ๆ

คู่มือใช้แผนที่ฟ้า

วิธีใช้แผนที่ฟ้ารุ่น "ชาละวัน" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทยอย่างละเอียด

แผ่นหมุน ๓๐๐ ปีดิถีจันทร์

คู่มือใช้แผ่นหมุน "๓๐๐ ปีดิถีจันทร์" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทย (pdf)

วารสารทางช้างเผือก

ตุลาคม-ธันวาคม 2564
คู่มือดูดาวปี 2565

ดูเพิ่ม

Webmaster login