สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ห้องสมุดดาราศาสตร์

พจนานุกรมดาราศาสตร์

ศัพท์ดาราศาสตร์น่ารู้ พร้อมศัพท์บัญญติและความหมาย

วารสารทางช้างเผือก

วารสารฉบับรายสามเดือนของสมาคมดาราศาสตร์ไทย

สารพันคำถาม

รวมคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับดาราศาสตร์

อ้าว.. เหรอ

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับดาราศาสตร์

จริงหรือไม่ ใช่หรือมั่ว

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีการเผยแพร่กันในโซเชียลมีเดีย

ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้า

ข้อมูลด้านกายภาพและวงโคจรของวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ฯลฯ

ข้อมูลทั่วไป

บทความ

ธรรมเนียมแปลก ๆ ของมนุษย์อวกาศ

(25 มี.ค. 67) การบินอวกาศ เป็นแขนงที่อยู่กับสุดยอดของสหวิทยาการ ต้องพึ่งพาความรู้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมชั้นสูง แม้จะเป็นวงการที่มีรากฐานด้านวิทยาศาสตร์ แต่ในขณะเดียวกันก็เต็มไปด้วยเรื่องความเชื่อ การถือเคล็ด และโชคลาง โดยเฉพาะช่วงก่อนออกเดินทาง ทั้งโดยลูกเรือและเจ้าหน้าที่ภาคพื้นดิน แล้วไม่ใช่เป็นเรื่องทำกันเล่น ...

เมื่อรัสเซียพกปืนไปอวกาศ

(13 มี.ค. 67) ทราบหรือไม่ มนุษย์อวกาศรัสเซียเขาพกปืนขึ้นไปในอวกาศด้วยนะ เรื่องนี้มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยที่ยุคอวกาศเริ่มต้นขึ้น ยานอวกาศที่มีมนุษย์ของฝ่ายโซเวียตไม่ว่าจะเป็นรุ่นบุกเบิกอย่างวอสตอก วอสฮอด และโซยุซ ล้วนเป็นมอดูลที่ออกแบบให้ลงจอดบนแผ่นดิน โดยมีร่มชูชีพคอยพยุงจนพื้นพื้น ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...

รู้จักดาวหาง

(5 มิ.ย. 58) มนุษย์รู้จักดาวหางมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล บันทึกเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับดาวหางเป็นบันทึกของนักดาราศาสตร์ชาวจีนที่เขียนรูปดาวหางลงบนผ้าไหม อยู่ในยุคราชวงศ์ชางของจีน ซึ่งมีอายุถึงกว่าสามพันปีมาแล้ว บันทึกเรื่องของดาวหางจากยุโรปก็มีมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาลเช่นกัน ในอดีต ผู้คนยังไม่รู้จักดาวหางมากไปกว่ารู้ว่าเป็นก้อนอยู่บนฟ้าที่ทอดหางยาว คนในยุคนั้นส่วนใหญ่มองดาวหางไปในทางอัปมงคล เช่นเป็นลางร้าย เป็นทูตแห่งความตายและสงคราม ...

ดาวหางยักษ์ในอดีต

(5 มิ.ย. 58) ในบันทึกเกี่ยวกับดาวหางนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดาวหางหลายดวงที่ได้รับการขนานนามว่า ดาวหางยักษ์ ชื่อนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกดาวหางที่สว่างมากเป็นพิเศษ มองเห็นได้สะดุดตาแม้เพียงแหงนหน้าขึ้นมองท้องฟ้า ดาวหางยักษ์บางดวงถึงกับมองเห็นได้แม้ในเวลากลางวัน การที่ดาวหางดวงใดจะสว่างจนได้ชื่อว่าเป็นดาวหางยักษ์ได้นั้น ไม่จำเป็นต้องมีขนาดใหญ่เสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสามอย่าง คือ มีนิวเคลียสที่ใหญ่และไวต่อการกระตุ้น เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มาก ...

เมื่อใดที่ดวงอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะในประเทศไทย

(23 เม.ย. 54) ฤดูร้อนของประเทศไทยอยู่ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม หลายคนอาจเข้าใจว่าประเทศไทยมีอากาศร้อนมากที่สุดในช่วงเดือนเมษายนเพราะดวงอาทิตย์ใกล้โลกที่สุด นั่นเป็นความเข้าใจที่ผิดถนัด แท้จริงแล้วสาเหตุมาจากการที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านใกล้จุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงวัน โดยทำมุมตั้งฉากกับพื้นดิน จึงได้รับรังสีความร้อนจากแสงอาทิตย์เต็มที่ ...
.
3
.

อาหารอวกาศ

(3 ต.ค. 48) เวลาที่เราดูข่าวหรือสารคดีเกี่ยวกับนักบินอวกาศของนาซาและรัสเซียที่ออกเดินทางไปกับกระสวยอวกาศและที่อาศัยอยู่ในสถานีอวกาศนานาชาติซึ่งโคจรอยู่ในวงโคจรรอบโลก ท่านผู้อ่านเคยนึกสงสัยไหมครับว่านักบินอวกาศบนนั้นจะใช้ชีวิตอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับประทานอาหารที่ดูเหมือนเป็นสิ่งยากลำบากในสภาวะไร้น้ำหนักเช่นนั้น ...

สร้างโลหะไฮโดรเจน เห็นถึงภายในดาวพฤหัสบดี

(5 ม.ค. 48) ณ ห้องทดลองหนึ่งในห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอวเรนซ์ลิเวอร์มอร์ มีปืนใหญ่กระบอกหนึ่งตั้งอยู่ มันมีความยาวเท่ากับรถบัสสองคัน ภายในลำกล้องปืนบรรจุก๊าซไฮโดรเจน มีแท่งระเบิดไดนาไมต์นับสิบแท่งเป็นเชื้อเพลิงขับดัน ปืนนี้ไม่ใช่อาวุธที่จะไปรบกับใคร แต่นี้คืออุปกรณ์ทดลองชิ้นหนึ่ง เป้าหมายของปืนนี้เป็นแค่ไฮโดรเจนเหลวเพียงสองสามหยด ...

กล้องโทรทรรศน์

(5 ม.ค. 48) ในการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์นั้น กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องใช้แทบจะขาดมิได้ เนื่องจากวัตถุท้องฟ้า ไม่ว่าจะเป็นดวงดาว กาแล็กซี หรือเนบิวลาต่าง ๆ ล้วนอยู่ห่างจากโลกเราหลายปีแสง และมักมีความสว่างน้อยนิด จึงจำเป็นต้องใช้กล้องโทรทรรศน์เพื่อดึงภาพของวัตถุเหล่านั้นให้เหมือนกับว่ามาอยู่ใกล้ ๆ เพื่อศึกษารายละเอียดได้สะดวก และรวมแสงให้สว่างพอให้ตามองเห็น 
...

จดหมายเหตุดาราศาสตร์

(30 มี.ค. 47) ลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่ 140 ปีก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ...

มังกรจีนผงาดฟ้า

(13 ธ.ค. 46) ท่านผู้อ่านอย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่าผมกำลังจะพูดถึงภาพยนตร์จีนกำลังภายในหรือหนังสือนวนิยายจีนเล่มใหม่ แต่ผมกำลังจะพูดถึงความก้าวหน้าในเทคโนโลยีด้านอวกาศของจีน ที่กำลังจะได้ชื่อว่าเป็นชาติที่ 3 ของโลกที่สามารถส่งมนุษย์ขึ้นไปในอวกาศด้วยยานที่สร้างขึ้นเอง ...

ที่สุดของดาราศาสตร์

(26 พ.ย. 46) ดาวอะไรใหญ่ที่สุด? ดาราจักรไหนใกล้โลกที่สุด? ดาราจักรไหนอยู่ไกลที่สุด? ดาวที่ร้อนที่สุดชื่ออะไร? ... คำถามเหล่านี้มักถูกหยิบยกขึ้นมาถามกันในหมู่นักดูดาวอยู่บ่อย ๆ คำตอบที่ได้รับมักเป็นข้อมูลน่าตื่นเต้น น่าสนใจอยู่เสมอ ปริมาณทางดาราศาสตร์ที่น่าตื่นตะลึงสามารถดึงดูดความสนใจและกระตุ้นให้คนทั่วไปเกิดจินตนาการเกี่ยวกับอวกาศได้โดยง่าย การนำเสนอตัวเลขอันมหรรศจรรย์เหล่านี้ จึงเป็นการช่วยให้คนสนใจและสนุกกับดาราศาสตร์ได้อีกทางหนึ่ง 
...

มหกรรมสำรวจดาวอังคารปี 2546

(2 พ.ย. 46) เดือนสิงหาคม 2546 เป็นช่วงเวลาที่สายตาของคนทั้งโลกเฝ้าจับตาด้วยความตื่นเต้นกับภาพดาวอังคารที่สุกสกาวเปล่งปลั่งไร้ผู้เทียมทานบนท้องฟ้าอย่างที่ไม่ได้เห็นมานานถึง 16 ปี ขณะนี้ดาวอังคารแม้ยังคงโดดเด่นอยู่บนท้องฟ้า แต่ก็หรี่ลงจากเมื่อเดือนสิงหาคมมาก และยังคงค่อย ๆ หรี่แสงลงเรื่อย ๆ จนนักดูดาวหลายคนเริ่มไม่ค่อยสนใจแล้ว บางคนอาจหันไปให้ความสนใจไปยังดาวเสาร์ที่เริ่มโดดเด่นขึ้นทุกวัน แต่สำหรับนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์แล้ว ช่วงเวลานี้นับเป็นช่วงที่เขาใจจดใจจ่อกับดาวอังคาร เนื่องจากขณะนี้มียานอวกาศที่อยู่ในระหว่างการเดินทางไปสู่ดาวอังคารถึง 4 ลำ ...

เกร็ดเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับดาวหาง

(9 ต.ค. 46) เรื่องราวน่ารู้เกี่ยวกับดาวหาง เช่น ดาวหางที่เคยพบว่ามีหางมากที่สุด ดาวหางที่เคยเข้าใกล้โลกมากที่สุด ดาวหางรายคาบที่สว่างที่สุด ดาวหางดวงแรกที่พบว่าพุ่งเข้าชนดวงอาทิตย์ ฯลฯ ...

กล้องสองตา : คู่หูของนักดูดาว

(5 ต.ค. 46) กล้องสองตา (binoculars) หรือที่เรียกขานกันหลายแบบ เช่น กล้องส่องม้า กล้องส่องทางไกล บ้างก็เรียกทับศัพท์เป็นฝรั่งไปว่า ไบน็อก เป็นอุปกรณ์ที่ทุกคนคงจะเคยเห็นและเชื่อว่าหลายคนมีไว้ที่บ้าน จัดเป็นสื่อทัศนูปกรณ์ที่มีประโยชน์หลากหลายมาก พวกผีพนันนักแทงม้าคงจะคุ้นเคยที่สุด หนุ่ม ๆ บางคนลงทุนซื้อไว้ส่องสาว ๆ ทหารก็ต้องเคยเรียนต้องเคยใช้ ยิ่งนักนิยมไพรทั้งหลายด้วยแล้วยิ่งขาดไม่ได้ เพราะต้องใช้เป็นอาวุธคู่กายไว้ส่องดูสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็น ผีเสื้อ นก กล้วยไม้ วิวทิวทัศน์สารพัด 
...

รู้จักกับแคตาล็อกคาลด์เวลล์

(5 ต.ค. 46) นักดาราศาสตร์ไม่ว่ามืออาชีพและสมัครเล่นทุกคนล้วนรู้จักแคตาล็อกเมซีเย (Messier Catalog) ซึ่งเป็นรายชื่อของวัตถุท้องฟ้า 110 ดวง เป็นที่นิยมอยู่ทั่วไป แท้จริงแล้วมีการเรียบเรียงอย่างไม่ค่อยจะมีระบบเท่าใดนัก ในขณะเดียวกัน ยังมีวัตถุท้องฟ้าอื่นที่มีความสำคัญ โดดเด่น และสวยงามอีกหลายดวงที่มิได้รวบรวมเอาไว้ในแคตาล็อกของเมซีเย ด้วยเหตุนี้จึงได้มีผู้เรียบเรียงแคตาล็อกวัตถุท้องฟ้าสำหรับนักดูดาวขึ้นมาใหม่ 
...

2001 มาร์สโอดิสซีย์

(28 มี.ค. 46) นับเป็นเวลากว่า 3 ปีมาแล้วที่ยานมาร์สโกลบอลเซอร์เวเยอร์ได้ไปสำรวจดาวอังคาร หลังจากนั้นนาซาก็ไม่มียานลำใดประสบความสำเร็จในการสำรวจดาวอังคารอีกเลย ในปี 2542 นาซาได้ส่งยานอวกาศสองลำไปสำรวจดาวอังคาร คือ มาร์สไคลเมตออร์บิเตอร์ และ มาร์สโพลาร์แลนเดอร์ แต่กลับล้มเหลวทั้งสองลำ สร้างความอับอายแก่องค์การนาซาพอสมควร ซ้ำยังทำให้โครงการเกี่ยวกับดาวอังคารอื่น ๆ ต้องหยุดชะงักไปด้วย แต่ในปี 2544 นี้เป็นอีกครั้งหนึ่งที่นาซาจะส่งยานอวกาศลำใหม่ไปสำรวจดาวแดงดวงนี้ ...

เรื่องที่มักเข้าใจผิดในดาราศาสตร์

(1 ม.ค. 46) รวบรวมเรื่องราวหลากหลายที่หลายคนมักเข้าใจผิด เช่น ฤดูร้อนโลกจะเคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด จะดูอาทิตย์เที่ยงคืนก็ต้องไปนอร์เวย์ ฯลฯ ...

จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อความเอียงของแกนหมุนของโลกกำลังลดลง

(13 พ.ค. 45) แกนหมุนรอบตัวเองของโลกเอียงจากแนวตั้งฉากของระนาบทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นมุม ε สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นเพราะดาวขนาดใหญ่เท่าดาวอังคารชนโลกจนทำให้เกิดดวงจันทร์ ด้วย ε มีค่าไม่คงที่ เพราะแรงรบกวนจากภายนอก โดยเฉพาะจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ซึ่งทำให้แกนโลกส่ายรอบละ 25,800 ปี ...

ประเทศใดจะเห็นดวงอาทิตย์ ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2000 เป็นประเทศแรก

(1 ธ.ค. 43) เราใช้ดวงอาทิตย์เป็นเครื่องบอกเวลา เพราะทุกคนรู้จักดวงอาทิตย์ คนบนโลกมีดวงอาทิตย์ดวงเดียวกัน ดาวดวงอื่นรวมทั้งดวงจันทร์ก็บอกเวลาได้เหมือนกัน แต่มีดาวมากเหลือเกิน คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จัก จึงใช้ดาวไม่สะดวก ดวงจันทร์ก็สู้ดวงอาทิตย์ไม่ได้ นอกจากวันขึ้น-แรมที่ต้องอาศัยดวงจันทร์เท่านั้น 
...

เรื่องจริงของพายุสุริยะ

(1 เม.ย. 43) แทบทุกครั้งที่เวลาผ่านมาถึงช่วงที่มีวันที่หรือเลขปีสวย ๆ ดูเหมือนจะต้องเกิดกระแส "โลกแตก" ขึ้นเสมอ ๆ ในช่วงใกล้ปี พ.ศ. 2543 หรือ ค.ศ. 2000 อย่างในตอนนี้ก็เช่นกัน มีข่าวลือสารพัดว่าในปี 2000 จะเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ นานา ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วมโลก โลกแตกตามคำทำนายของโหรชื่อดัง วาระสุดท้ายของโลกตามคำภีร์ แกรนครอส แกรนคอนจังก์ชัน ปัญหา Y2K ฯลฯ ข่าวที่ลือกันนี้ บางเรื่องก็มีส่วนจริงและชวนคิด และอีกหลายเรื่องก็เพ้อเจ้อถึงขั้นไร้สาระเลยทีเดียว 
...

ฝนดาวตกกลุ่มดาวสิงโต ในปี 2541 และโอกาสในการชนโลกของดาวหางเทมเปล-ทัตเทิล

(16 ก.พ. 42) ฝนดาวตกกลุ่มดาวสิงโตที่เพิ่งผ่านไปเมื่อกลางเดือนพฤศจิกายน ได้สร้างทั้งความประทับใจและความผิดหวังให้แก่คนทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในแถบเอเชีย ผลการสังเกตการณ์ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ได้ผลตรงกันว่า จำนวนดาวตกในคืนวันที่ 16 มีมากกว่าคืนวันที่ 17 ซึ่งคาดว่าจะเป็นคืนที่มีมากที่สุด อีกทั้งความสว่างและจำนวนลูกไฟ (fireball) ยังมีมากกว่าด้วย นอกจากนี้ มีกระแสข่าวเรื่องความเป็นไปได้ในการพุ่งชนโลกของ ดาวหางเทมเปล-ทัตเทิล ซึ่งเป็นดาวหางแม่ของฝนดาวตก ...

พายุสะเก็ดดาวจะเป็นภัยต่อดาวเทียมอย่างไร?

(5 พ.ย. 41) ในวันที่ 17 ถึง 18 พฤศจิกายน นี้ โลกจะแล่นฝ่าพายุฝนสะเก็ดดาวหางสิงห์ ซึ่งคาดว่าจะทำให้คนบนโลกได้เห็นฝนดาวตกประมาณ 200 ถึง 5,000 ดวงต่อชั่วโมง ตัวดาวหางต้นกำเนิดของฝนดาวหางนี้ ชื่อว่า ดาวหาง เทมเปล-ทัตเติล เพิ่งจะโคจรผ่านไปไม่นานนี้เอง สำหรับคนบนพื้นโลกแล้ว สะเก็ดดาวเหล่านี้ จะไหม้หมดไปตั้งแต่เข้าสู่บรรยากาศของโลกในระดับ 120 ถึงประมาณ 20 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก จึงไม่มีปัญหาแต่อย่างใด 
...

ลีโอนิดส์ : ราชาแห่งฝนดาวตก

(19 ต.ค. 41) ฝนดาวตก (Meteor shower) เป็นปรากฎการณ์ที่คนบนโลกมองเห็นแนวเส้นสว่างมากมายพาดผ่านท้องฟ้ายามค่ำคืนเป็นระยะ ๆ เกิดขึ้นจากการที่โลกโคจรฝ่าเข้าไปในกลุ่มฝุ่นอุกกาบาต (meteoroid) น้อยใหญ่ ซึ่งโดยมากจะมีต้นกำเนิดมาจากดาวหางที่เคยโคจรผ่านเข้ามาในระบบสุริยะชั้นใน และทิ้งกลุ่มฝุ่นอุกกาบาตเหล่านี้ตามแนวทางโคจร ...

เมื่อดาวเคราะห์มาเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน

(1 ก.ย. 40) เนื่องจากมีบทความและหนังสือหลายเล่มได้เขียนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นแก่โลก ในวันที่ พฤษภาคม ค.ศ. 2000 ซึ่งอ้างว่า ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ มาเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน บทความและหนังสือดังกล่าวแจ้งว่าจะเกิดเหตุร้ายต่างๆ นานา อย่างรุนแรงถึงโลกระเบิด ซึ่งถ้าโลกระเบิดจริงก็นับว่าเป็นเรื่องร้ายแรงที่ทุกคนจะต้องเป็นห่วง 
...

ตามล่าหาน้ำบนดวงจันทร์

(1 มิ.ย. 40) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ กาลิเลโอได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่เขาสร้างขึ้นส่องสังเกตดวงจันทร์ เขาคิดว่าบริเวณที่เป็นสีคล้ำของดวงจันทร์ที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ของเขานั้นคือ ทะเลสาบ ดังเราจะเห็นว่ามีชื่อของทะเลมากมายบนดวงจันทร์ อย่างเช่นทะเลแห่งความเงียบสงบ ทะเลแห่งฝน มหาสมุทรแห่งพายุ ฯลฯ แม้ว่านักดาราศาสตร์ได้ทราบมาตั้งแต่ช่วงแรก ๆ ของยุคอวกาศแล้วว่าสถานที่เหล่านั้นเป็นเพียงที่ราบต่ำที่เคยถูกลาวาเอ่อท่วมเท่านั้น แต่ก็ยังมีนักวิทยา ...

ดาวหางเฮล-บอพพ์ Comet Hale-Bopp (C/1995 O2)

(1 ม.ค. 40) ข้อมูลเกี่ยวกับดาวหางเฮล-บอพพ์ ดาวหางใหญ่ที่ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2535 ก่อนจะเข้ามาใกล้โลกและดวงอาทิตย์ที่สุดใน พ.ศ. 2540 ...

อริสโตเติล

(1 ม.ค. 40) อริสโตเติลเกิดเมื่อประมาณ 384 หรือ 383 ปีก่อนคริสตกาลที่เมือสตากีรา (Stagira) ในแคว้นมาเซโดเนีย (Macedonia) ซึ่งเป็นแคว้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือสุดชองทะเลเอเจียน (Aegaeen Sea) ของประเทศกรีก เป็นบุตรชายของนายนิโคมาคัส (Nicomachus) ซึ่งมีอาชีพทางการแพทย์ประจำอยู่ที่เมืองสตาราเกีย และยังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของพระเจ้าอมินตัสที่ 2 (King Amyntas II) แห่งมาเซโดเนีย ...

การสังเกตดวงจันทร์

ทุกคนรู้จักดวงจันทร์ ส่วนใหญ่อาจเคยเห็นภูเขาสูง หลุมใหญ่น้อยจำนวนมากบนดวงจันทร์โดยดูผ่านกล้องดูดาว แล้วเกิดความรู้สึกประทับใจต่าง ๆ กัน แต่หลายคนคงไม่ทราบล่วงหน้าว่าในแต่ละคืนดวงจันทร์อยู่ตรงไหน มีลักษณะอย่างไร คืนนี้จะเห็นดวงจันทร์หรือเปล่า ตอนที่ออกไปกลางแจ้งดูท้องฟ้าดวงจันทร์กำลังขึ้นหรือว่าอยู่สูงบนฟ้า หรือว่ากำลังจะลับขอบฟ้าทางตะวันตก จะมีดาวสว่างอยู่เคียงข้างในลักษณะ "ดาวเคียงเดือน" หรือไม่ แสงจันทร์จะรบกวนการดูดาวอื่น ๆ เพียงใด 
...

รูปร่างลักษณะของดวงจันทร์บนฟ้า

ดวงจันทร์เป็นวัตุท้องฟ้าที่อยู่ใกล้โลกที่สุด เปลี่ยนตำแหน่งและเปลี่ยนรูปร่างเร็วมาก กล่าวคือ ในช่วงข้างขึ้น รูปร่างจะปรากฏโตขึ้นจากเป็นเสี้ยวเล็กที่สุดเมื่อวันขึ้น ค่ำ ถึงโตที่สุดเป็นรูปวงกลมหรือจันทร์เพ็ญเมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ ที่เป็นเช่นนี้เพราะในแต่ละวัน ดวงจันทร์ด้านสว่างที่หันมาทางโลกมีขนาดไม่เท่ากัน สัดส่วนของด้านสว่างที่สะท้อนแสงมาทางโลกมีขนาดโตขึ้นสำหรับวันข้างขึ้น และมีสัดส่วนน้อยลงสำหรับวันข้างแรม 
...

ตามล่าละอองดาว

โครงการอวกาศสตาร์ดัสต์ (Stardust) หรือ "ละอองดาว" คือโครงการที่จะส่งยานอวกาศในราวเดือนกุมภาพันธ์ 2542 ไปยังดาวหางที่มีชื่อว่า วีล-ทู (Wild-2) โดยคาดว่าจะไปถึงในเดือนมกราคม 2547 วิธีส่งยานไปนั้น จะใช้วิธีที่เรียกว่า Gravity Assist คืออาศัยแรงเหวี่ยงจากสนามแรงโน้มถ่วงของโลกมาช่วยผ่อนแรง ...
.
3
.

จากเว็บไซต์อื่น

  • Internet STELLAR DATABASE ฐานข้อมูลดาวฤกษ์
  • The NGC/IC Product Public Access NGC/IC Database ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้าตามบัญชี NGC/IC
  • List of largest optical reflecting telescopes อันดับของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลก
  • Forthcoming Close Approaches To The Earth รายชื่อดาวเคราะห์น้อยที่จะเฉียดเข้าใกล้โลกภายใน 33 ปีข้างหน้า
  • Record-setting Solar Flares อันดับการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์เรียงตามความรุนแรง โดย SpaceWeather.com
  • ดาวเคราะห์น้อย ข้อมูลดาวเคราะห์น้อย เฉพาะดวงที่ใหญ่ที่สุด 40 ดวง
  • Current solar images ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ปัจจุบัน โดยดาวเทียมโซโฮ
  • Solar and Heliospheric Observatory ภาพดวงอาทิตย์ในเวลาปัจจุบัน จากดาวเทียมโซโฮ
  • Big Bear Solar Observatory ภาพถ่ายดวงอาทิตย์รายวันจากหอสังเกตการณ์บิกแบร์
  • List of Potentially Hazardous Asteroids รายชื่อดาวเคราะห์น้อยอันตราย จากศูนย์ดาวเคราะห์น้อยฮาร์วาร์ด
  • Observable Comet ข้อมูลด้านตำแหน่งและองค์ประกอบวงโคจรของดาวหางที่มองเห็นได้ในปัจจุบัน