(11 ธ.ค. 67) ในระบบสุริยะของเรา มีดาวเคราะห์หลายดวงที่มีวงแหวน ดวงที่โดดเด่นที่สุดก็คือดาวเสาร์ นอกจากดาวเสาร์แล้ว ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ก็มีวงแหวนเหมือนกัน แม้แต่ดาวอังคารก็มีหลักฐานว่าอาจเคยมีวงแหวนมาก่อน ล่าสุด นักดาราศาสตร์พบว่าโลกเราก็อาจเคยมีวงแหวนกับเขาด้วย
...
(8 ธ.ค. 67) หนึ่งในปริศนาจากยานวอยเอเจอร์ 2 ที่ยังคาใจนักดาราศาสตร์จนถึงปัจจุบันก็คือ เรื่องของสนามแม่เหล็กของดาวยูเรนัส สนามแม่เหล็กของดาวยูเรนัสมีลักษณะแปลกประหลาดไม่เหมือนดาวดวงอื่นที่มีสนามแม่เหล็ก นั่นคือแกนแม่เหล็กภายในดาวไม่พาดผ่านใจ
...
(6 ธ.ค. 67) เมื่อวานนี้ (5 ธันวาคม) นาซาได้แถลงข่าวควาบคืบหน้าเกี่ยวกับภารกิจอาร์เทมิส ซึ่งเป็นอภิมหาโครงการของนาซาที่จะนำมนุษย์กลับไปเยือนดวงจันทร์อีกครั้ง นาซาได้รายงานว่า ภารกิจอาร์เทมิส 2 ซึ่งเป็นภารกิจที่จะนำมนุษย์ 4 คนไปอ้อมหลังดวงจันทร์และกลับมายังโลก ซึ่งเดิมกำหนดวันส่งไว้ในเดือนกันยายน 2568 เลื่อนไป
...
(5 ธ.ค. 67) เดอร์มอต เฮนรี นักธรณีวิทยาของพิพิธภัณฑ์เมลเบิร์น ผู้มีประสบการณ์การจำแนกก้อนหินมาอย่างยาวนานกว่า 37 ปี เคยตรวจสอบก้อนหินมานับพันก้อนจากผู้คนที่เชื่อว่าเป็นอุกกาบาต ในจำนวนหินนับพันก้อนที่เคยตรวจสอบ มีเพียงสองก้อนเท่านั้นที่พบว่าเป็นอุกกาบาตจริง
...
(25 พ.ย. 67) บริวารดวงที่สองที่เพิ่มเข้ามานอกจากดวงจันทร์ก็คือ ดาวเคราะห์น้อยชื่อ 2024 พีที 5 (2024 PT5) ที่ผ่านเข้ามาใกล้โลกแล้วถูกโลกคว้าจับมาโคจรรอบตัวเอง แต่วงโคจรนี้ไม่เสถียร หลังจากโคจรเพียงไม่ถึงรอบก็
...
(6 พ.ย. 67) ดวงจันทร์แอเรียลและพี่น้องในครอบครัวยูเรนัสทั้งหมดอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 2.9 พันล้านกิโลเมตร จึงหนาวเย็นมาก ประกอบกับบนแอเรียลไม่มีบรรยากาศ ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ควรจะระเหิดไปเป็นแก๊สและหลุดลอยออกสู่อวกาศไปในทันที
...
(2 พ.ย. 67) ความสว่างของดาวเบเทลจุสไม่คงที่ มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเป็นรายคาบ ดาวที่มีความสว่างไม่คงที่เช่นนี้เรียกกว่าดาวแปรแสง นักวิทยาศาสตร์ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความสว่างของดาวเบเทลจุสแล้วพบว่ามีวัฏจักรสองวัฏจักรซ้อนกันอยู่
...
(29 ต.ค. 67) สถานีเทียนกงมีขนาดไล่เลี่ยกับสถานีมีร์ของโซเวียต แต่อีกไม่นานจะใหญ่ขึ้นอีกเกือบเท่าตัวเพราะเมื่อวันที่ 17 ตุลาคมที่ผ่านมา ตัวแทนจากสถาบันเทคโนโลยีการบินอวกาศจีนได้เปิดเผยว่าจีนมีแผนจะปรับปรุงสถานีเทียนกงให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม
...
(24 ต.ค. 67) เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม มีรายงานว่า ดาวเทียมอินเทลแซต 33 อี (Intelsat 33e) พลังงานตกอย่างไม่ทราบสาเหตุ หลังจากนั้นอีกไม่กี่ชั่วโมงก็มีการตรวจพบว่าดาวเทียมดวงนี้เริ่มแตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยเป็นจำนวนไม่ต่ำกว่า 20 ชิ้น
...
(2 ต.ค. 67) คณะนักดาราศาสตร์คณะหนึ่ง นำโดย โจเนย์ กอนซาเลส เอร์นันเดซ จากสถาบันวิจัยฟิสิกส์ดาราศาสตร์หมู่เกาะคะเนรีของประเทศสเปนได้พบดาวเคราะห์ต่างระบบดวงใหม่ ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลต่ำที่สุดดวงหนึ่งในบรรดาดาวเคราะห์ต่างระบบที่เคยค้นพบ และที่สำคัญอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์
...
(23 ก.ย. 67) ในปลายปีนี้ องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย หรือ อิสโร (ISRO--Indian Space Research Organization) จะส่งยานอวกาศทดสอบแบบไม่มีมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศเป็นครั้งแรก หากภารกิจนี้สำเร็จ ตามมาด้วยภารกิจทดสอบแบบไม่มีมนุษย์อีกสามภารกิจ หากสำเร็จด้วยดี ก็จะถึงคราวส่งมนุษย์จริง ๆ ขึ้นไป
...
(21 ก.ย. 67) สตาร์ลิงก์ คือผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตด้วยเครือข่ายดาวเทียมของของสเปซเอกซ์ บริษัทเดียวกับที่สร้างจรวดฟัลคอนและยานดรากอน เครือข่ายนี้จะใช้ดาวเทียมขนาดเล็กนับหมื่นดวง โคจรรอบโลกในระดับต่ำ สร้างเครือข่ายการสื่อสารที่รวดเร็วและครอบคลุมได้ทุกตารางนิ้วบนพื้นโลก
...
(15 ก.ย. 67) นักวิจัยสองคน
ได้แก่ คาร์ลอส เด ลา ฟูเอนเต มาร์กอส และ ราอุล เด ลา ฟูเอนเต มาร์กอส ได้คำนวณแนววิถีแล้วพบว่า วัตถุดวงนี้จะถูกโลกคว้าจับเอามาเป็นบริวารตั้งแต่วันที่ 29 กันยายนจนถึงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 ...
(13 ก.ย. 67) หนึ่งในภาพที่ถ่ายโดยจูโน เป็นภาพที่ถ่ายขึ้นในเดือนเมษายน 2567 แสดงภูเขาไฟลูกหนึ่งใกล้เส้นศูนย์สูตรเยื้องไปทางใต้เล็กน้อย แสดงร่องรอยการไหลของลาวาหลายครั้งหลายหน ครอบคลุมพื้นที่ 180 x 180 กิโลเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับ ...
(7 ก.ย. 67) ยานสตาร์ไลเนอร์ลำนี้มีชื่อว่า คาลิปโซ ได้ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน โดยมีมนุษย์อวกาศโดยสารไปด้วยสองคน คือ สุนิตา วิลเลียมส์ และ บุตช์ วิลมอร์ เป็นภารกิจทดสอบครั้งที่สามของยานรุ่นนี้และเป็นครั้งแรก ...
(15 ส.ค. 67) เป็นเวลาปีครึ่งแล้วที่นักดาราศาสตร์ทั้งอาชีพและสมัครเล่นเฝ้าติดตามความคืบหน้าของดาวหางที่เพิ่งพบใหม่ดวงหนึ่งที่ชื่อ ซี/2023 เอ 3 (จื่อจินซาน-แอตลัส) [C/2023 A3 (Tsuchinshan–ATLAS)] หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เอ 3 เพราะดาวหางดวงนี้มีวงโคจร ...
(11 ส.ค. 67) นับตั้งแต่ที่นักดาราศาสตร์เริ่มประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แล้วหันขึ้นส่องดวงดาว ก็พบว่าดาวพฤหัสบดีมีจุดแดงใหญ่แล้ว โดยคนแรกที่ค้นพบจุดแดงใหญ่นี้คือ โจวันนี กัสซีนี ซึ่งค้นพบในปี ค.ศ. 1665 หลังจากนั้นก็มีการศึกษาดาวเคราะห์ดวงนี้และมีบันทึกเกี่ยวกับจุดแดงนี้มาตลอด ...
(2 ส.ค. 67) ในบรรดาศัพท์แสงทางดาราศาสตร์ หลุมดำ เป็นชื่อที่ถูกเอ่ยถึงบ่อยมาก จึงเป็นที่คุ้นหูมากแม้ในหมู่คนที่ไม่ได้อยู่ในแวดวงดาราศาสตร์ หลุมดำเป็นวัตถุที่ลึกลับที่สุดชนิดหนึ่งในเอกภพ แม้จะถูกเอ่ยถึงบ่อยครั้งมาก แต่นักดาราศาสตร์ก็ยังรู้จักวัตถุชนิดนี้ไม่มากนัก ยังมีความลับอีกมากหมายเกี่ยวกับหลุมดำที่ยังดำมืดเหมือนชื่อ ...
(25 ก.ค. 67) ดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด และมีขนาดเล็กที่สุด แม้จะมีขนาดเล็กแต่ดาวเคราะห์ดวงนี้กลับมีดีหลายอย่าง เช่นมีทั้งบรรยากาศ มีสนามแม่เหล็ก มีน้ำแข็งที่ขั้วดาว ลักษณะบางอย่างบนดาวเคราะห์ดวงนี้ก็เป็นเอกลักษณ์ที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นไม่มี เช่น ...
(21 ก.ค. 67) ในปี 2549 ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกี่ยวกับวงการดาราศาสตร์ เมื่อสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้กำหนดนิยามของดาวเคราะห์เสียใหม่ การใช้นิยามใหม่นี้ เป็นผลให้ดาวพลูโตซึ่งเคยจัดเป็นดาวเคราะห์ดวงที่เก้าของระบบ ...