สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ห้องสมุดดาราศาสตร์

พจนานุกรมดาราศาสตร์

ศัพท์ดาราศาสตร์น่ารู้ พร้อมศัพท์บัญญติและความหมาย

วารสารทางช้างเผือก

วารสารฉบับรายสามเดือนของสมาคมดาราศาสตร์ไทย

สารพันคำถาม

รวมคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับดาราศาสตร์

อ้าว.. เหรอ

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับดาราศาสตร์

จริงหรือไม่ ใช่หรือมั่ว

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีการเผยแพร่กันในโซเชียลมีเดีย

ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้า

ข้อมูลด้านกายภาพและวงโคจรของวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ฯลฯ

ข้อมูลทั่วไป

บทความ

เตรียมรับมือยุคดาวเทียมล้นฟ้า ในวันที่ดาวเทียมมีมากกว่าดาวแท้

(18 ธ.ค. 67) การสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยฝูงดาวเทียม ต่างจากการใช้ดาวเทียมสื่อสารที่ใช้ดาวเทียมเพียงไม่กี่ดวงโคจรอยู่ที่วงโคจรค้างฟ้าซึ่งสูงจากพื้นดินมาก ระบบฝูงดาวเทียมจะใช้ดาวเทียมโคจรในระดับต่ำเพื่อลดการหน่วงเวลา แต่การที่โคจร ...

ประตูแมวของเซอร์ไอแซก นิวตัน

(15 ธ.ค. 67) มีเรื่องเล่าว่า ขณะที่นิวตันทำงานอยู่ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่ห้องทำงานของนิวตันมีแมวแม่ลูกคู่หนึ่ง นิวตันรู้สึกรำคาญที่แมวชอบมาข่วนประตูร้องเรียกให้คนมาเปิดประตูให้ จึงเกิดความคิดสุดวิเศษที่จะทำช่องทางเฉพาะสำหรับให้แมวเข้า ...

โศกนาฏกรรมอวกาศ

(24 พ.ย. 67) ในเส้นทางของการบุกเบิกการเดินทางสู่อวกาศ มีเหล่าผู้กล้าที่ต้องสังเวยชีวิตไปในระหว่างการเดินทางไปแล้วถึง 21 คน คิดเป็น 3.23 เปอร์เซ็นต์ของมนุษย์ที่ได้ขึ้นสู่อวกาศทั้งหมด ถือว่าสูงที่สุดในบรรดาการเดินทางทุกรูปแบบ ...

สาระเก็บตก จากมหกรรมแสงเหนือ

(13 พ.ค. 67) สุดสัปดาห์ (11-12 พฤษภาคม 2567) ที่ผ่านมา เรื่องหนึ่งที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากก็คือเรื่องของแสงเหนือที่มีการพบเห็นกันในหลายส่วนของโลก มีการแชร์การโพสภาพแสงเหนือสุดตระการตากันเกลื่อนเฟซบุ๊ก และแฮตช์แท็ก #พายุสุริยะ ก็ติดอันดับในเอกซ์อยู่นาน ...

ระดับความรุนแรงของพายุแม่เหล็กโลก

(11 พ.ค. 67) เมื่อดวงอาทิตย์เกิดการปะทุขึ้น จะเกิดพายุของอนุภาคพลังงานสูงสาดออกไปในอวกาศ พายุนี้เมื่อพัดมาถึงโลกจะทำให้สนามแม่เหล็กโลกปั่นป่วนและส่งผลบางอย่างต่อโลก ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...
.
1
.

หางลึกลับของดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เอ 3

(15 ต.ค. 67) ช่วงนี้ (กลางเดือนตุลาคม) นับว่าเป็นเวลาของดาวหางอย่างแท้จริง ดาวเด่นบนฟากฟ้าในขณะนี้เห็นจะไม่มีใครเกินดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส เอ 3 (C/2023 A3) ที่เพิ่งหนีพ้นแสงจ้าของดวงอาทิตย์ออกมา ทำให้มีโอกาสอยู่ห่างขอบฟ้า ...

ยาถอนพิษดาวหาง

(29 ส.ค. 67) ในบรรดาดาวหางทั้งหมดที่เคยมาอวดโฉมต่อสายตามนุษย์ ดวงที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เห็นจะไม่มีใครเกิน ดาวหางแฮลลีย์ ซึ่งมีบันทึกการพบเห็นมาตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล ดาวหางดวงนี้มีคาบโคจร 76 ปี หมายความว่าทุก 76 ปีจะมาอวดโฉมให้ชาว ...

ดาวพระเจ้าจอร์จ

(19 ส.ค. 67) ในปี ค.ศ. 1781 วิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษได้ตั้งกล้องโทรทรรศน์ขึ้นส่องท้องฟ้าเพื่อค้นหาดาวหาง ด้วยกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.2 นิ้วที่ทำขึ้นเอง เขาได้ค้นพบวัตถุดวงหนึ่งบนท้องฟ้า ...

ดาวปีศาจ

(20 พ.ค. 67) การแปรแสงของดาวอัลกอลเกิดจากการบังกันเองของดาว การบังกันเรียกว่าอุปราคา ดาวที่แปรแสงด้วยสาเหตุนี้จึงเรียกว่า ดาวแปรแสงอุปราคา ดาวอัลกอลเป็น ...

ธรรมเนียมแปลก ๆ ของมนุษย์อวกาศ

(25 มี.ค. 67) การบินอวกาศ เป็นแขนงที่อยู่กับสุดยอดของสหวิทยาการ ต้องพึ่งพาความรู้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมชั้นสูง แม้จะเป็นวงการที่มีรากฐานด้านวิทยาศาสตร์ แต่ในขณะเดียวกันก็เต็มไปด้วยเรื่องความเชื่อ การถือเคล็ด และโชคลาง โดยเฉพาะช่วงก่อนออกเดินทาง ทั้งโดยลูกเรือและเจ้าหน้าที่ภาคพื้นดิน แล้วไม่ใช่เป็นเรื่องทำกันเล่น ...

เมื่อรัสเซียพกปืนไปอวกาศ

(13 มี.ค. 67) ทราบหรือไม่ มนุษย์อวกาศรัสเซียเขาพกปืนขึ้นไปในอวกาศด้วยนะ เรื่องนี้มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยที่ยุคอวกาศเริ่มต้นขึ้น ยานอวกาศที่มีมนุษย์ของฝ่ายโซเวียตไม่ว่าจะเป็นรุ่นบุกเบิกอย่างวอสตอก วอสฮอด และโซยุซ ล้วนเป็นมอดูลที่ออกแบบให้ลงจอดบนแผ่นดิน โดยมีร่มชูชีพคอยพยุงจนพื้นพื้น ...

ความสว่างของดาว วัดกันอย่างไร

(11 มี.ค. 67) ความสว่างของดวงดาว รวมถึงวัตถุต่าง ๆ บนท้องฟ้า ไม่ได้บอกเป็นวัตต์หรือเป็นลูเมนแบบความสว่างของหลอดไฟ แต่นักดาราศาสตร์มีมาตรวัดเฉพาะสำหรับวัตถุท้องฟ้า เรียกว่า โชติมาตร หรือ อันดับความสว่าง (magnitude) ...

ดาวแมว อยู่ที่ไหน?

(17 ธ.ค. 66) บนท้องฟ้ามีกลุ่มดาวชื่อสัตว์อยู่มากมาย ทั้งหมา กิ้งก่า งู ปู ปลา อีกทั้งสัตว์ประหลาดอีกสารพัด แต่ทำไมไม่มีกลุ่มดาวแมวเลย ...

ดาวตกเกิดขึ้นที่ความสูงเท่าใด

(7 ส.ค. 66) สะเก็ดดาวที่ทำให้เกิดดาวตกส่วนใหญ่มีขนาดเล็กเพียงระดับเม็ดทรายเท่านั้น เมื่อต้องเจอกับความร้อนสูงในขณะฝ่าเข้ามาในบรรยากาศจึงมักระเหยหายไปหมดก่อนจะตกถึงพื้น สะเก็ดดาวจะอยู่ทนมากน้อยเพียงใดนอกจากขนาดของสะเก็ดดาวแล้ว ...

เสียงจากดาวตก เรื่องจริงหรือคิดไปเอง?

(12 เม.ย. 66) โดยปกติ ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์เป็นปรากฏการณ์แบบหนังเงียบ มีเพียงภาพให้มองเห็นเท่านั้น ไม่ว่าปรากฏการณ์นั้นจะมีความรุนแรงหรือทรงพลังเพียงใด จึงไม่มีใครเคยได้ยินเสียงสุริยุปราคา เสียงซูเปอร์โนวา หรือเสียงดาวหาง เรารับรู้ปรากฏการณ์เหล่านั้นผ่านทางแสง ...

รู้จักอุลกมณี

(3 มี.ค. 66) นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า นานมาแล้ว ได้มีดาวเคราะห์น้อยพุ่งเข้าชนโลก แรงชนทำให้เกิดความร้อนและพลังงานจลน์มหาศาล ทำให้หินและทรายบนผิวโลกร้อนจนหลอมละลายและกระเด็นออกไปไกล หินหลอมเหลวที่กระเด็นออกไป ต่อมาได้จับตัวกันเป็นก้อนใหญ่ขึ้นพร้อมกับ ...

โลกกลวงของจอห์น ควินซี แอดัมส์

(27 ม.ค. 66) ในสมัยนั้นคนจำนวนหนึ่งมีความเชื่อว่าโลกไม่ได้เป็นทรงกลมตันดังที่เราทราบกันในปัจจุบัน หากแต่เป็นทรงกลมกลวง จอห์น คลีฟส์ ซิมส์ จูเนียร์ เจ้าทฤษฎีนี้อธิบายว่า ลึกลงไปใต้ผิวโลกคือโพรงกว้างใหญ่มหึมา มีสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอยู่ ...

จรวดเอสแอลเอส จอมพลังรุ่นใหม่ของนาซา

(14 พ.ย. 65) การนับถอยหลังการส่งจรวดในภารกิจอาร์เทมิส 1 ได้เริ่มขึ้นแล้ว หากไม่มีอะไรผิดพลาดเกิดขึ้น อาร์เทมิส 1 จะพุ่งทะยานขึ้นจากโลกในบ่ายของวันที่ 16 เพื่อมุ่งหน้าสู่ดวงจันทร์ตามก้าวแรกในภารกิจนำมนุษย์กลับไปดวงจันทร์อีกครั้งขององค์การนาซา เมื่อเรามองภาพการส่งจรวดของอาร์เทมิส สิ่งหนึ่งที่เห็นโดดเด่นเป็นสง่าบนฐานส่งจรวดคือ จรวดลำยักษ์สูงเสียดฟ้าที่มีชื่อว่า เอสแอลเอส ...

วันดาวเคราะห์น้อยสากล

(3 พ.ย. 65) วันดาวเคราะห์น้อยสากล ก่อตั้งขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์และผู้สนใจกลุ่มหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นสำนึกของผู้คนให้ตระหนักทราบถึงอันตรายจากดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลก และร่วมกันศึกษาหาหนทางป้องกัน โดยถือเอาวันที่ 30 มิถุนายน ...

คลื่นความโน้มถ่วง อีกหนึ่งบทพิสูจน์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

(27 ต.ค. 65) คลื่นความโน้มถ่วง คือระลอกความเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของปริภูมิเวลาที่แผ่ออกไปในอวกาศคล้ายแสง แต่คลื่นความโน้มถ่วงไม่ใช่แสง ไม่ใช่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แม้จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงก็ตาม เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งกล่าวไว้ใน ...

ยานลูซีกับภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อยทรอย

(20 ต.ค. 65) ลูซี มีชีวิตอยู่บนพื้นโลกเมื่อ 3.2 ล้านปีก่อน การศึกษาซากของเธอช่วยให้นักบรรพชีวินวิทยาได้เข้าใจถึงวิวัฒนาการของมนุษย์ได้อย่างลึกซึ้ง นักดาราศาสตร์ก็คาดหวังว่า ยานลูซีจะช่วยให้ความเข้าใจในวิวัฒนาการของระบบสุริยะแจ่มชัดยิ่งขึ้นในทำนองเดียวกัน ...

เมื่อหินอวกาศตกมาจากฟ้า

(4 ต.ค. 65) ดาวตก ไม่ใช่ดาวที่ตกลงมาจากฟ้า แต่เป็นแสงสว่างวาบที่พุ่งมาเป็นทางจากท้องฟ้า เกิดจากวัตถุแข็งในอวกาศพุ่งฝ่าชั้นบรรยากาศเข้ามาด้วยความเร็วสูง แรงอัดอากาศจากการที่พุ่งปะทะบรรยากาศทำให้เกิดความร้อนสูงจนส่องสว่างขึ้นมา บางครั้งก็เรียก ผีพุ่งไต้ ฉะนั้น ...

แมวเหมียวเที่ยวอวกาศ

(29 ก.ย. 65) ย้อนหลังไปในยุคทศวรรษ 1960 โลกยังอยู่ในบรรยากาศของสงครามเย็นระหว่างสองมหาอำนาจ การชิงความเป็นใหญ่ลุกลามไปถึงห้วงอวกาศ ทั้งโซเวียตและสหรัฐอเมริกาต่างเร่งพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ โดยมีดวงจันทร์เป็นหลักชัย 
ท่ามกลางสมรภูมิใหญ่ของสองยักษ์ใหญ่ ประเทศเล็ก ๆ อย่างฝรั่งเศสก็มีโครงการอวกาศ ...

อาร์เทมิส บันไดสามขั้นสู่การนำมนุษย์กลับไปเดินบนดวงจันทร์

(31 ส.ค. 65) อาร์เทมิส 1 เป็นภารกิจแรกของโครงการอาร์เทมิส ซึ่งมีเป้าหมายใหญ่อยู่ที่การนำมนุษย์กลับไปเยือนดวงจันทร์อีกครั้ง โครงการอาร์เทมิสต่างจากโครงการอะพอลโลในหลายมิติ อะพอลโลมีเป้าหมายเพียงนำมนุษย์ไปให้ถึง ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และนำ ...

ชุมนุมจรวดยักษ์

(29 ส.ค. 65) ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ความจำเป็นในการสร้างจรวดรุ่นใหญ่เริ่มกลับมาอีกครั้ง จึงเริ่มมีจรวดจอมพลังหลายรุ่นทยอยออกมาอวดโฉมกัน ลองมาดูกันว่า จรวดรุ่นยักษ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและรวมไปถึงอนาคตอันใกล้มีรุ่นใดกันบ้าง ...
.
1
.

จากเว็บไซต์อื่น

  • Internet STELLAR DATABASE ฐานข้อมูลดาวฤกษ์
  • The NGC/IC Product Public Access NGC/IC Database ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้าตามบัญชี NGC/IC
  • List of largest optical reflecting telescopes อันดับของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลก
  • Forthcoming Close Approaches To The Earth รายชื่อดาวเคราะห์น้อยที่จะเฉียดเข้าใกล้โลกภายใน 33 ปีข้างหน้า
  • Record-setting Solar Flares อันดับการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์เรียงตามความรุนแรง โดย SpaceWeather.com
  • ดาวเคราะห์น้อย ข้อมูลดาวเคราะห์น้อย เฉพาะดวงที่ใหญ่ที่สุด 40 ดวง
  • Current solar images ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ปัจจุบัน โดยดาวเทียมโซโฮ
  • Solar and Heliospheric Observatory ภาพดวงอาทิตย์ในเวลาปัจจุบัน จากดาวเทียมโซโฮ
  • Big Bear Solar Observatory ภาพถ่ายดวงอาทิตย์รายวันจากหอสังเกตการณ์บิกแบร์
  • List of Potentially Hazardous Asteroids รายชื่อดาวเคราะห์น้อยอันตราย จากศูนย์ดาวเคราะห์น้อยฮาร์วาร์ด
  • Observable Comet ข้อมูลด้านตำแหน่งและองค์ประกอบวงโคจรของดาวหางที่มองเห็นได้ในปัจจุบัน