(1 พ.ค. 42) เมื่อวันที่ 15 เมษายนที่ผ่านมา นักดาราศาสตร์ได้รายงานว่า ได้ค้นพบระบบสุริยะใหม่ที่มีดาวเคราะห์หลายดวงเป็นครั้งแรก ดาวเคราะห์ที่ถูกค้นพบใหม่นี้ เป็นบริวารของดาว อิปไซลอน แอนดรอเมดา (Upsilon Andromedae) อยู่ห่างจากโลก 44 ปีแสง ระบบสุริยะของดาว
...
(1 พ.ค. 42) N. Wyn Evans และ Serge Tabachnik นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ด ได้ค้นพบแถบดาวเคราะห์น้อยใหม่สองแถบ การค้นพบครั้งนี้เป็นการค้นพบในทางทฤษฎี ซึ่งเป็นผลจากการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ แถบดาวเคราะห์น้อยแถบแรกอยู่ภายในวงโคจรของดาวพุธ และอีกแถบหนึ่ง
...
(1 พ.ค. 42) เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2542 ยานมาร์สโกลบัลเซอร์เวเยอร์ได้พบหลักฐานใหม่ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของเปลือกดาวบนดาวอังคาร แสดงถึงลักษณะของดาวอังคารในยุคอดีตที่คล้ายคลึงกับโลกในยุคปัจจุบัน
...
(1 เม.ย. 42) นักดาราศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า น้ำที่มีอยู่ทั้งหมดบนโลก อาจมาจากดาวหางจำนวนมากที่พุ่งเข้ามาชนโลกเมื่อหลายพันล้านปีก่อน แต่นักดาราศาสตร์กลุ่มหนึ่งของคาลเทค ได้ศึกษาดาวหางเฮล-บอปป์และได้พบว่า อัตราส่วนระหว่างปริมาณของ
...
(1 เม.ย. 42) สายอากาศกำลังสูงของมาร์สโกลบัลเซอร์เวเยอร์ได้ถูกกางออกจากตัวยานแล้ว ทำให้ยานสามารถทำงานและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ด้วยประสิทธิภาพสูงสุด
...
(1 เม.ย. 42) เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2542 ในที่ประชุมวิทยาศาสตร์ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ในฮูสตัน นักวิทยาศาสตร์ประจำโครงการลูนาร์พรอสเปกเตอร์ได้กล่าวว่า เครื่องวัดความโน้มถ่วงของ
...
(1 เม.ย. 42) โอกาสที่โลกจะถูกดาวเคราะห์น้อยชนภายใน 40 ปีข้างหน้า คงต้องสูงขึ้นอีกเล็กน้อย เมื่อนักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงใหม่
...
(1 เม.ย. 42) เมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา โครงการ Hubble Heritage ได้เปิดเผยภาพ ๆ หนึ่ง ซึ่งถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นภาพบริเวณใจกลางของเนบิวลาบึ้ง (Tarantula Nebula) ภาพนี้นับเป็นผลงานชิ้นเอกอีกชิ้นหนึ่งของโครงการ เนบิวลาบึ้ง
...
(1 มี.ค. 42) วารสาร Science ฉบับวันที่ 5 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ได้รายงานถึงการค้นพบบรรยากาศคาร์บอนไดออกไซด์บนคัลลิสโตของดาวพฤหัสบดี บรรยากาศอันบางเบาของดวงจันทร์ดวงนี้ ถูกค้นพบในขณะที่ยานกาลิเลโอกำลังโคจรรอบดวงจันทร์คัลลิสโตเป็นรอบที่ 10 การค้นพบในครั้งนี้ทำให้เราได้ทราบว่าดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวงของดาวพฤหัสบดี ได้แก่ ไอโอ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ล้วนแต่มีบรรยากาศห่อหุ้มทุกดวง
...
(1 มี.ค. 42) กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้สามารถถ่ายภาพของจานฝุ่นล้อมรอบดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นภาพของกระบวนการสร้างดาวเคราะห์ของระบบสุริยะ
...
(1 มี.ค. 42) นักดาราศาสตร์ได้สำรวจกระจุกดาว NGC 6712 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ UT1 และได้ค้นพบหลักฐานบางอย่างที่อาจจะบอกถึงวาระสุดท้ายของกระจุกดาวทรงกลม
...
(1 มี.ค. 42) ดาวพลูโตได้กลับกลายมาเป็นดาวเคราะห์อันดับที่ 9 ในระบบสุริยะอีกครั้งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา หลังจากที่เข้ามาอยู่อันดับ 8 สลับกับดาวเนปจูนเป็นเวลานานถึง 20 ปี.
...
(1 มี.ค. 42) วันที่ 11 ธันวาคม 2541 คอลลีน วิลสัน-ฮอดจ์ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลของนาซา ได้ค้นพบสิ่งแปลกประหลาดสิ่งหนึ่งบนท้องฟ้า เป็นพัลซาร์ดวงหนึ่งกำลังโคจรรอบดาวฤกษ์ขนาดยักษ์อยู่
...
(1 ก.พ. 42) เมื่อวันที่ 20 ธันวาคมที่ผ่านมา ในขณะที่ยานได้โคจรเฉียดเข้าใกล้โลก ยานโนะโซะมิ ได้จุดจรวดขับดันของยานเป็นเวลา 7 นาทีเพื่อเร่งความเร็วและหันทิศทางสู่ดาวอังคาร แต่การจุดจรวดขับดันในครั้งนี้กินเวลายาวนานกว่าที่คาดหมายไว้ ทำให้พลังงาน
...
(1 ก.พ. 42) eBay บริษัทที่ทำธุรกิจประมูลทางอินเทอร์เนต ได้มีแผนการที่จะเปิดประมูลรายการของชิ้นหนึ่ง ของชิ้นนี้คือวงแหวนเล็ก ๆ วงหนึ่งซึ่งเป็นชิ้นส่วนของยานแชลเลนเจอร์ที่เกิดอุบัติเหตุระเบิดไปเมื่อเดือนมกราคม 2529 แต่ต่อมาบริษัทต้องยกเลิกการประมูลนี้ไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม หลังจากทราบว่าของรายการนี้เป็นของร้อน เพราะตามกฎหมายแล้ว ชิ้นส่วนของยานแชลเลนเจอร์ทุกชิ้นถือเป็นทรัพย์สินของรัฐ ใครมีไว้ครอบครองอาจจะต้องถูกปรับถึง 10,000 เหรียญ
...
(1 ก.พ. 42) เจ้าหน้าที่ประจำโครงการแคสซีนีได้รายงานเมื่อวันที่ 13 มกราคมว่า ได้เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้นกับยานแคสซีนี เมื่อช่วงต้นเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยยานได้ปรับตัวเองเข้าสู่สภาวะเซฟโหมด เมื่อเวลา 6 นาฬิกาของวันที่ 12 ตามเวลาในประเทศไทย การทำงานในเซฟโหมดนี้ จะคล้ายกับการจำศีล โดยระบบต่าง ๆ ของยานเกือบทั้งหมดจะหยุดทำงาน ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อยานได้ตรวจพบบางสิ่งบางอย่างที่ผิดปกติ
...
(1 ก.พ. 42) ใครเล่าจะคาดคิดว่า วันดีคืนดี ดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นมารดาผู้ให้พลังงานทั้งปวงแก่มนุษย์โลกและสรรพสัตว์ จะเกิดกราดเกรี้ยวสาดพลังงานเข้มข้นออกมาอย่างไม่ทันได้รู้เนื้อรู้ตัวเผาดาวเทียมนอกโลกทุกดวงให้ไหม้หมด ทำลายชั้นโอโซนของโลกไม่มีเหลือปล่อยให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ทะลุทะลวงบรรยากาศลงมาถึงพื้นล่างและทำลายห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิตบนโลกจดหมดสิ้น
...
(1 ก.พ. 42) ข่าวการค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่นอกระบบสุริยะเริ่มจะกลายเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว ในช่วงสองเดือนแรกของปี 2542 ที่ผ่านมานี้มีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเพิ่มขึ้นอีกหลายดวง แต่ข่าวการค้นพบในช่วงนี้กลับพบว่าไม่ธรรมดา เพราะไม่ได้เป็นการค้นพบร่องรอยของดาวเคราะห์โดยการวิเคราะห์สเปกตรัมของดาวแม่ดังเช่นหลาย ๆ ดวงที่ถูกค้นพบมาก่อนหน้านี้
...
(1 ม.ค. 42) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ยานอวกาศเนียร์ ซึ่งพลาดโอกาสเข้าบรรจบโคจรรอบดาวเคราะห์น้อย อีรอส ได้บินสวนกันกับ อีรอส เวลา 13:43 น. ตามเวลาในภาคตะวันออกของสหรัฐ และได้ถ่ายภาพของอีรอสในระยะใกล้ไว้เป็นจำนวนมาก ภาพชุดแรกที่ส่งกลับมายังโลกมีจำนวน 9 ภาพ เป็นภาพที่ถ่ายจากระยะ 11,000 ถึง 5,300 กม ระยะเวลาที่ถ่ายภาพทั้งเก้านี้ ทิ้งช่วงห่างกันสองชั่วโมง ซึ่งกินเวลาเท่ากับอีรอสหมุนรอบตัวไปกว่าครึ่งรอบ
...
(1 ม.ค. 42) เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ตัวควบคุมการบินของยานลูนาร์พรอสเปกเตอร์ได้ออกคำสั่งให้ยานเปลี่ยนวงโคจรรอบดวงจันทร์ให้มาโคจรในระดับต่ำ เพื่อที่จะเริ่มสำรวจพื้นผิวของดวงจันทร์อย่างละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก
...