(27 ก.พ. 57) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ ได้ค้นพบดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอื่นดวงหนึ่ง ที่มีฤดูกาลผันผวนอย่างสุดโต่ง จนหากดาวเคราะห์ดวงนี้มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ก็คงจะต้องใช้ชีวิตอย่างสับสนกับฤดูกาลอย่างมาก เพราะไม่รู้ว่าวันไหนจะร้อนหรือจะหนาว
...
(30 ม.ค. 57) เมื่อถึงกลางเดือนธันวาคมของทุกปี นักดูดาวทั่วโลกจะเตรียมออกไปสู่ลานกว้างและมืดมิด เพื่อเฝ้าชมฝนดาวดาวตกคนคู่ ฝนดาวตกคนคู่มีชื่อเสียงมาจากการที่ให้เส้นดาวตกที่สว่าง เร็ว และเป็นฝนดาวตกที่ตกชุกในอันดับต้น ๆ
...
(30 ม.ค. 57) ดาวฤกษ์ทุกดวงมีอายุขัยมากน้อยต่างกัน บางดวงอายุสั้น บางดวงอายุยืน ดวงอาทิตย์ของเรามีอายุประมาณ 4.6 พันล้านปี จะส่องสว่างไปอีกราว 7.8 พันล้านปีก่อนที่จะกลายเป็นดาวแคระขาว นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวฤกษ์แสงจางดวงหนึ่งทางตอนใต้ของกลุ่มดาวนายพรานที่คาดว่าจะมีอายุขัย
...
(23 ม.ค. 57) ซีรีส ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ และเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุด เป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก เมื่อไม่นานมานี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล ได้ค้นพบหลักฐานของน้ำบนซีรีส นับเป็นการพบน้ำบนดาวเคราะห์แคระ
...
(12 พ.ย. 56) ใครบอกว่าดาวหางเท่านั้นที่จะมีหางได้ ไม่เสมอไป เพราะนักดาราศาสตร์พบว่าดาวเคราะห์น้อยก็มีหางได้เหมือนกัน ดูอย่าง พี/2013 พี 5 (P/2013 P5) นั่นประไร วัตถุดวงนี้เป็นดาว
...
(29 ต.ค. 56) นักดาราศาสตร์ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล หอสังเกตการณ์จันทรา และกล้องภาคพื้นดินอีกจำนวนหนึ่ง ได้ค้นพบดาราจักรแห่งใหม่แห่งหนึ่งที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในละแวกใกล้
...
(29 ต.ค. 56) ดีปอิมแพกต์ ซึ่งเป็นภารกิจสำรวจดาวหางของนาซา ได้ปิดภารกิจลงแล้วเมื่อต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา หลังจากที่ได้ดำเนินมาเป็นเวลานานถึง 9 ปี ยานดีปอิมแพกต์ ขึ้นสู่ท้องฟ้าเมื่อเดือนมกราคม 2548 มีภารกิจสำคัญคือการสำรวจพื้นผิวและองค์ประกอบ
...
(29 ต.ค. 56) การวิจัยใหม่ฉบับหนึ่งบ่งบอกว่า แอ่งบนดาวอังคารชื่อ อีเดนพาทีรา (Eden Patera) อาจเกิดขึ้นจากการปะทุครั้งใหญ่ในอดีต มิได้เกิดจากการพุ่งชนของวัตถุตามที่เคยเข้าใจกัน "นี่อาจเป็นภูเขาไฟยักษ์" โจเซฟ อาร์.มิคาลสกี จากสถาบันวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ในทูซอน
...
(13 ก.ย. 56) ย้อนกลับไปในยุคทศวรรษที่ 60-70 นักบินอวกาศในโครงการอะพอลโลได้บันทึกเกี่ยวกับปรากฏการณ์หนึ่งบนดวงจันทร์ว่า ก่อนดวงอาทิตย์ขึ้นหรือตกที่ขอบฟ้าของดวงจันทร์ประมาณ 10 วินาที จะมีเส้นสว่างจาง ๆ ขึ้นที่ขอบฟ้าเป็นแนว
...
(31 ส.ค. 56) เคปเลอร์-78 บี ค้นพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาจูเซตส์ในเคมบริดจ์ เป็นดาวเคราะห์ขนาดใกล้เคียงโลก แต่ถึงกระนั้นก็ไม่ใช่ดาวที่น่าอยู่นัก เพราะดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่ใกล้ดาวฤกษ์แม่มาก รัศมีวงโคจรเพียงประมาณสามเท่าของรัศมีดาวฤกษ์ หรือใกล้กว่า
...
(29 ส.ค. 56) ในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา ไม่มียานอวกาศลำใดที่จะมีผลงานโดดเด่นไปกว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ ซึ่งเป็นยานสำรวจดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอื่นขององค์การ
...
(29 ก.ค. 56) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2556 นักวิทยาศาสตร์นาซาได้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงใหม่ ชื่อ 2013 เอ็มแซด 5 (2013 MZ5) ค้นพบโดยกล้องโทรทรรศน์แพนสตารรส์-1 ซึ่งบริหารงานโดยมหาวิทยาลัยฮาวาย
...
(17 ก.ค. 56) ดาวศุกร์ เป็นดินแดนแห่งความหฤโหด หนึ่งในความโหดของดาวเคราะห์ดวงนี้ที่รู้จักกันดีก็คือ ลมพายุที่พัดคลั่งทั่วทั้งดาว ลมบนดาวศุกร์เคลื่อนที่วนรอบดาวครบรอบได้ภายในเวลาเพียงสี่วันของโลก ต่างจากอัตราการหมุนรอบตัวเองของดาวที่หมุนอย่างเชื่องช้า ที่กว่าจะครบรอบต้องใช้เวลานานถึง 243 วัน
...
(26 มิ.ย. 56) วันที่ 7 มิถุนายน 2554 หรือเมื่อราวสองปีก่อน ได้เกิดการปะทุครั้งใหญ่บนดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ได้สาดพลาสมาร้อนปริมาณมหาศาลขึ้นสู่อวกาศ หลังจากนั้นพลาสมาบางส่วนได้ตกลงสู่ผิวดวงอาทิตย์ พร้อมกับสาดแสงอัลตรา
...
(27 พ.ค. 56) กล้องเคปเลอร์ ปล่อยขึ้นสู่อวกาศในปี 2552 มีเป้าหมายหลักคือค้นหาดาวเคราะห์บริวารของดาวฤกษ์ดวงอื่น หนึ่งในบรรดาดาวเคราะห์ที่แปลกประหลาดที่สุดที่เคปเลอร์เคยพบ คือดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงมาก บางดวงถึงกับมีความหนาแน่นกว่า
...
(6 พ.ค. 56) มีสัตว์เพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่พบว่ารู้จักใช้ดาวในการนำทาง เช่น นก แมวน้ำ และมนุษย์ นี่เป็นครั้งแรกที่พบว่าแมลงใช้ประโยชน์จากดวงดาวด้วย และเป็นครั้งแรกที่พบว่าสัตว์ใช้ทางช้างเผือกในการบอกทิศทาง จากการทดลองในภาคสนาม นัก
...
(25 เม.ย. 56) เมื่อปี พ.ศ. 2552 องค์การนาซาได้ปล่อยดาวเทียมไวส์ นักดาราศาสตร์คาดหวังว่าดาวเทียมลำนี้จะพบดาวแคระน้ำตาลจำนวนมาก เนื่องจากเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ไวต่อแสงในย่านรังสีอินฟราเรด ดาวแคระน้ำตาลส่งแสงริบหรี่มาก จึงเป็นไปได้ว่าอาจมีดาวแคระน้ำตาลจำนวนมากที่เล็ดรอดสายตานักดาราศาสตร์ไป และหนึ่งในจำนวนนั้นอาจอยู่ไม่ไกลก็ได้ หรือแม้แต่ใกล้กว่าดาวฤกษ์ที่อยู่
...
(26 มี.ค. 56) แถบรังสีแวนอัลเลนมีสองชั้นซ้อนกัน ชั้นในประกอบด้วยอิเล็กตรอนพลังงานสูงและไอออนบวกพลังงานสูง ซึ่งมีความเข้มค่อนข้างคงที่ ส่วนแถบชั้นนอก ประกอบด้วยอิเล็กตรอนพลังงานสูงเกือบทั้งหมด และความเข้มผันแปรอย่างรวดเร็วในระดับชั่วโมงหรือระดับ
...
(17 มี.ค. 56) นักดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จในการสำรวจสภาพบรรยากาศของดาวแคระน้ำตาล เป็นครั้งแรกที่สามารถทำแผนที่ภูมิอากาศบนดาวแคระน้ำตาลได้ ดาวแคระน้ำตาลเกิดขึ้นจากก้อนแก๊สที่มารวมตัวกันเช่นเดียวกับการเกิดดาวฤกษ์ แต่ดาวแคระน้ำตาลมีมวลไม่มากพอที่จะจุดปฏิกิริยา
...
(18 ก.พ. 56) เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ได้มีอุกกาบาตยักษ์พุ่งเข้าสู่โลกและระเบิดขึ้นเหนือฟ้าของเมืองเชลยาบินสก์ ซึ่งเป็นเมืองอุตสาหกรรมใกล้เทือกเขาอูรัล อยู่ห่างจากมอสโกไปทางตะวันออกประมาณ 1,500 กิโลเมตร ไม่มีรายงานของผู้เสียชีวิต แต่มีผู้บาดเจ็บกว่า 1,000 ราย ส่วนใหญ่
...