(23 พ.ค. 59) งานวิจัยฉบับหนึ่งเมื่อเร็ว ๆ นี้มีสิ่งบ่งชี้บางอย่างว่าอาจถึงเวลาต้องมาจำแนกประเภทดาวพลูโตอีกครั้งแล้ว จากข้อมูลที่ได้จากยานนิวเฮอไรซอนส์ นักวิทยาศาสตร์พบว่าดาวพลูโตมีอันตรกิริยาต่อลมสุริยะไม่เหมือนกับวัตถุอื่นใดในระบบสุริยะ
...
(20 พ.ค. 59) พบหลักฐานของดาวเคราะห์น้อยขนาด 20-30 กิโลเมตร พุ่งชนโลกเมื่อ 3.5 พันล้านปีก่อนทางตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย พลังงานจากการชนรุนแรงยิ่งกว่าระเบิดนิวเคลียร์เป็นล้านลูก ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์ที่รุนแรงในระดับที่พลิกโฉมธรณีวิทยาของโลกเลยทีเดียว
...
(15 พ.ค. 59) นักดาราศาสตร์พบวัตถุดึกดำบรรพ์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะ มันคล้ายดาวเคราะห์น้อย แต่มีเส้นทางโคจรแบบดาวหาง แล้วมันก็คล้ายจะมีหาง แต่ก็น้อยเกินกว่าจะเป็นดาวหาง
...
(3 พ.ค. 59) นักดาราศาสตร์ได้สร้างแผนที่อุณหภูมิพื้นผิวของดาวเคราะห์ต่างระบบประเภทซูเปอร์โลกได้เป็นครั้งแรกด้วยกล้องโทรทรรศน์สปิตเซอร์ ดาวเคราะห์ดวงนี้คือ ดาว 55 ปูอี (55 Cancri e) ซึ่งมีชื่อสามัญอย่างเป็นทางการแล้วว่า ยันส์เซิน มีขนาดเป็นสองเท่าของโลก อยู่ห่างจากโลก 40 ปีแสง โคจรอยู่ใกล้ดาวฤกษ์แม่มาก โคจรครบ
...
(28 เม.ย. 59) กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้ค้นพบดวงจันทร์บริวารดวงใหม่ในระบบสุริยะเพิ่มขึ้นอีกดวงหนึ่งแล้ว เป็นบริวารของดาวมาเกมาเก ซึ่งอยู่ไกลสุดกู่ถึงแถบไคเปอร์ ดาวมาเกมาเกเป็นดาวเคราะห์แคระเช่นเดียวกับดาวพลูโต มีขนาด 1,390 กิโลเมตร ค้นพบในปี 2548 ชื่อของวัตถุดวงนี้ตั้งชื่อตามเทพผู้สร้างมนุษย์ของชาวราพานุย
...
(12 เม.ย. 59) เมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา จรวดโปรตอนได้ทะยานขึ้นจากศูนย์การบินอวกาศไบโคนอร์ (Baikonur Cosmodrome) สิ่งที่จรวดลำนี้พาขึ้นไปคือ ยานเอกโซมาร์สเทรซแก๊สออร์บิเตอร์ ยานสำรวจดาวอังคารขององค์การอวกาศยุโรปหรือองค์การอีซา
...
(31 มี.ค. 59) สำนักข่าวซินหัวของจีนได้รายงานว่า สถานีอวกาศเทียนกง 1 ของจีน กำลังประสบปัญหาจากระบบโทรมาตรของสถานีขัดข้อง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีกับภาคพื้นดินถูกตัดขาด ทำให้ขณะนี้สถานีอวกาศดวงแรกของจีนลำนี้ต้องกลายเป็นสถานีร้างที่ลอยละล่องไปอย่างไร้การควบคุม
...
(30 มี.ค. 59) ดาวพลูโตมีดวงจันทร์บริวารห้าดวง ได้แก่ คารอน สติกซ์ นิกซ์ เคอร์เบรอส และไฮดรา ดวงจันทร์คารอนมีขนาดใหญ่มาก มีเส้นผ่านศูนย์กลางราวครึ่งหนึ่งของดาวพลูโต และถูกตรึงโดยแรงโน้มถ่วงจากดาวพลูโต บางคนถือว่าคู่พลูโตและคารอนเป็นดาวเคราะห์แคระคู่มากกว่าระบบบริวาร ทั้งสองต่างโคจรรอบ
...
(27 มี.ค. 59) มื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา มีดาวหางเข้ามาใกล้โลกถึงสองดวง แม้ดาวหางสองดวงนี้จะมีขนาดเล็กและจาง ไม่ชวนตื่นเต้นเท่าใดนักสำหรับนักดูดาวทั่วไป แต่ระยะห่างจากโลกของสองดวงนี้ต่างหากที่ทำให้มันน่าสนใจ
...
(24 มี.ค. 59) เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา ในที่ประชุมวิทยาศาสตร์ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ประจำปีครั้งที่ 47 ในวูดแลนด์ เท็กซัส นักวิทยาศาสตร์จากภารกิจดอว์นของนาาซาได้เปิดเผยภาพล่าสุดดาวเคราะห์น้อยซีรีสที่ได้จากภารกิจนี้ในช่วงที่ยานเข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ที่สุด รวมถึงภาพของหลุม
...
(18 มี.ค. 59) ข่าวดาราศาสตร์ที่โด่งดังที่สุดในรอบเดือนที่ผ่านมา เห็นจะไม่มีข่าวใดเกินการค้นพบคลื่นความโน้มถ่วงเป็นครั้งแรก โดยหอสังเกตการณ์ไลโก ข่าวนี้ใหญ่โตเสียจนคนส่วนใหญ่อาจไม่ทันสังเกตว่าในการค้นพบครั้งเขย่าโลกครั้งนี้ ยังมีการค้นพบที่สำคัญอีก
...
(18 ก.พ. 59) ในเดือนกันยายนปีนี้ จะมีกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดยักษ์กล้องใหม่สร้างเสร็จพร้อมใช้งาน กล้องนี้มีชื่อว่า ฟาสต์ (FAST--Five-hundred-meter Aperture Spherical Telescope) ตั้งอยู่ในมณฑลกุ้ยโจว ทางตอนใต้ของประเทศจีน กล้องนี้จะเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุที่ใหญ่ที่สุดในโลก
...
(14 ก.พ. 59) เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ได้เกิดเหตุระเบิดขึ้นในรัฐทมิฬนาฑู ตอนใต้ของประเทศอินเดีย เป็นผลให้พนักงานขับรถนักเรียนเสียชีวิตและนักเรียนบาดเจ็บอีกสามคน กระจกหลายบานแตกกระจายเหมือนถูกแรงระเบิด ในที่เกิดเหตุยังพบหลุมบนพื้นดินที่เหมือนถูกวัตถุ
...
(13 ก.พ. 59) "ท่านทั้งหลาย เราได้ค้นพบคลื่นความโน้มถ่วงแล้ว" เดฟ ไรตซ์ ผู้อำนวยการของหอสังเกตการณ์ไลโก LIGO (Laser Interferometry Gravitational-Wave Observatory) กล่าวนำขึ้นในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แม้จะเป็นเกริ่นสั้น ๆ แต่ก็ดังก้องกังวาน
...
(2 ก.พ. 59) มันคล้ายจะเป็นซูเปอร์โนวา แต่นักดาราศาสตร์ไม่แน่ใจนักว่าจะใช่จริงหรือเปล่า และถ้าใช่ มันก็จะเป็นซูเปอร์โนวาที่ไม่เหมือนซูเปอร์โนวาอื่นใดที่นักดาราศาตร์เคยรู้จัก และจะเป็นซูเปอร์โนวาที่สว่างที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบ
...
(30 ม.ค. 59) ถ้าคุณเกิดที่ดาวเคราะห์ดวงนี้ กว่าจะได้ฉลองวันเกิดครบรอบหนึ่งขวบ อาจต้องรอเป็นเวลานานถึงเกือบหนึ่งล้านปีของโลก! ดาวเคราะห์ดวงนี้มีชื่อว่า 2 แมส เจ 2126 (2MASS J2126) อยู่ห่างจากดาวฤกษ์แม่ราวหนึ่งล้านล้านกิโลเมตร มากกว่าระยะห่างระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์ถึง 7,000 เท่า ด้วยระยะทางเท่านี้ ดาวเคราะห์ดวงนี้ต้องใช้เวลาประมาณ 900,000 ปี
...
(21 ม.ค. 59) มันมีมวลมากกว่าโลก 10 เท่า อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน 20 เท่า และโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบรอบทุก 10,000-20,000 ปี เปล่าเลย นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้ถ่ายภาพของดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ แต่แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์บ่งชี้ว่ามันน่ามีอยู่จริง งานวิจัยนี้เป็นของ คอนสแตนติน บาทีจิน
...
(7 ม.ค. 59) ดาวอีตากระดูกงูเรือ (Eta Carinae) เป็นระบบดาวฤกษ์ที่สว่างและมีมวลมากที่สุดในรัศมี 10,000 ปีแสงจากโลก ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1840 ระบบดาวนี้ได้ปะทุขึ้นอย่างรุนแรง พ่นสสารปริมาณมากกว่ามวลดวงอาทิตย์ไม่น้อยกว่าสิบเท่าออกมาสู่ภายนอก ปัจจุบัน
...
(15 ธ.ค. 58) สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้ประกาศผลการคัดเลือกชื่อสามัญให้แก่ดาวฤกษ์ 20 ดวง หนึ่งในนั้นคือดาว 47 หมีใหญ่ (47 Ursae Majoris) ได้ชื่อว่า "ชาละวัน" เป็นดาวฤกษ์ดวงแรกบนท้องฟ้าที่มีชื่อสามัญสากลเป็นชื่อไทย
...
(11 ธ.ค. 58) เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม เวลา 06:51 น. ตามเวลาประเทศไทย ยานอะคัตซึกิ ขององค์การอวกาศญี่ปุ่น หรือ แจ็กซา ได้จุดจรวดเป็นเวลา 20 นาทีเพื่อปรับทิศทางของยานเข้าสู่วงโคจรรอบดาวศุกร์ ถัดจากนั้นอีกสองวัน หลังจาก
...