(5 ส.ค. 58) นี่ไม่ได้เพ้อ นาซาทำจริง นับจากที่ยานนิวเฮอไรซอนส์ไปเยือนระบบดาวพลูโตเป็นครั้งแรก ยานได้เผยภาพภูมิประเทศแห่งใหม่ที่ไม่มีใครเคยเห็นมาก่อน มีทั้งเทือกเขา ที่ราบ แอ่ง หลุมอุกกาบาต แน่นอนว่า ภูมิลักษณ์เหล่านี้ต้องมีชื่อเรียก และไม่ใช่เรื่องที่ใครอยากจะตั้งอะไรก็ตั้ง การตั้งชื่อของวัตถุต่างในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ดาวเคราะห์
...
(2 ส.ค. 58) นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า แก๊สซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของบรรยากาศดาวพลูโตราวครึ่งหนึ่งได้ควบแน่นเป็นละอองตกลงสู่พื้นผิวไปแล้ว เป็นการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอันยาวนานของดาวเคราะห์แคระดวงนี้ หากข้อสันนิษฐานนี้เป็นจริง ความดันบรรยากาศของดาวพลูโตจะ
...
(1 ส.ค. 58) เหมือนมีเด็กมือบอนที่ไหนเอาสีสเปรย์ไปพ่นเล่นบนพื้น แต่ละเส้นกว้างหลายกิโลเมตร และยาวหลายร้อยกิโลเมตร เมื่อหลายปีก่อน ยานแคสซีนีเคยพบเส้นโค้งสีแดงบนดวงจันทร์ดวงนี้มาแล้ว แต่ไม่ชัดเจนนัก ในภาพถ่ายใหม่นี้ถ่ายเมื่อเดือนเมษายน 2558 ซึ่งเป็นช่วงที่พื้นที่ทางตอนเหนือของดวงจันทร์ทีทิสหันเข้ารับแสงอาทิตย์ในมุม
...
(29 ก.ค. 58) แม้กล้องโทรทรรศน์เจมส์เว็บบ์จะได้ชื่อว่าเป็นทายาทฮับเบิล แต่หากกล้องเอชดีเอสทีได้เกิดจริง ๆ ย่อมจะได้ชื่อว่าเป็นทายาทสายตรงของฮับเบิลมากกว่ากล้องเจมส์เว็บบ์ซึ่งถือว่าเป็นทายาทนอกไส้ ทั้งนี้เนื่องจากกล้องเอชดีเอสทีทำงานในย่านรังสีตั้งแต่อินฟราเรดใกล้
...
(27 ก.ค. 58) นักวิทยาศาสตร์อีกกลุ่มหนึ่งเฝ้ามองภารกิจนี้ด้วยความกังวลพร้อมกับตั้งคำถามในใจว่า หรือนี่จะเป็นวาระสุดท้ายของการสำรวจอวกาศ? ยานอวกาศทุกลำต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ยานอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจไม่ไกลนัก ใช้แผงเซลสุริยะแปลงแสงอาทิตย์เปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า แต่สำหรับยานที่เดินทางไกลอย่างนิวเฮอไรซอนส์อยู่ไกลจาก
...
(25 ก.ค. 58) วันที่ 25 กรกฎาคม องค์การนาซาได้เผยภาพจากยานนิวเฮอไรซอนส์มาอีกชุดหนึ่ง เป็นภาพของดาวพลูโตขณะที่บังดวงอาทิตย์ เป็นภาพริมไลท์อันแสนโรแมนติกที่ดูคล้ายกับสุริยุปราคาที่มองเห็นจากโลก แต่ต่างตรงที่สิ่งที่บังไม่ใช่ดวงจันทร์หากเป็นพลูโต และแสงเรื่อที่จับเป็นรูป
...
(22 ก.ค. 58) วันนี้ องค์การนาซาได้เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมจากยานนิวเฮอไรซอนส์ ภาพแรกเป็นภาพดวงจันทร์ดวงเล็กของดาวพลูโตสองดวง ซึ่งยานได้ส่งกลับมาเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ดวงจันทร์สองดวงนี้คือ นิกซ์ และไฮดรา ภาพดวงจันทร์นิกซ์ เป็นภาพเร่งสีที่ถ่ายด้วยอุปกรณ์ราล์ฟของยานนิวเฮอไรซอนส์ ถ่ายไว้เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ในขณะ
...
(21 ก.ค. 58) ยานแคสซีนีพบทะเลสาบไฮโดรคาร์บอนบนไททันหลายแห่ง ทะเลสาบที่นี่พอจะแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ แบบแรกคือทะเลสาบขนาดใหญ่ มีความกว้างหลายร้อยกิโลเมตรและลึกนับร้อยเมตร มีสายธารของไฮโดรคาร์บอนไหลรินลงสู่ทะเลสาบ ทะเลสาบอีกจำ
...
(19 ก.ค. 58) นักวิทยาศาสตร์คณะหนึ่งจากอิมพีเรียลคอลเลจลอนดอน ได้สร้างแบบจำลองสนามแม่เหล็กของดาวเนปจูนใหม่ ด้วยการผนวกรวมข้อมูลจากการสำรวจอายุ 26 ปี บวกกับพลังการทำงานของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เพื่ออธิบายพฤติกรรมประหลาดบางอย่างของดาวเคราะห์ยักษ์ดวงนี้
...
(18 ก.ค. 58) ภาพ "เจาะใจพลูโต" ภาพนี้ถ่ายจากระยะ 77,000 กิโลเมตร ให้รายละเอียดได้ถึง 1 กิโลเมตร แสดงถึงที่ราบกว้างใหญ่ ที่มีเส้นโครงข่ายคล้ายกับรอยแตกระแหงท้องนาที่แห้งแล้ง รอยแตกแบ่งพื้นที่ออกเป็นแผ่นเป็นเกล็ด แต่ละแผ่นมีขนาดกว้างประมาณ 20 กิโลเมตร รายล้อมด้วยแนวที่คล้ายร่องคู
...
(16 ก.ค. 58) หลังจากยานนิวเฮอไรซอนส์ได้เข้าเฉียดดาวพลูโตเป็นครั้งแรกประวัติศาสตร์ ข้อมูลชุดแรกที่ส่งตามมา ทำให้นักดาราศาสตร์ต้องตื่นตะลึงเมื่อพบว่า ดาวพลูโตไม่ใช่ดินแดนตายซากที่เย็นชืดดังที่เคยเชื่อกัน หากแต่ยังคุกรุ่นอยู่
...
(14 ก.ค. 58) ยานนิวเฮอไรซอนส์ของนาซา ได้วัดขนาดของดาวพลูโตขณะที่กำลังเข้าใกล้ดาวเคราะห์แคระดวงนี้ ผลที่ได้ยืนยันว่า ดาวพลูโตมีขนาดใหญ่กว่าดาวอีริส ซึ่งหมายความว่า ดาวพลูโตเป็นวัตถุไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่รู้จัก
...
(13 ก.ค. 58) เป็นเวลากว่า 172 ปีแล้วที่นักวิทยาศาสตร์รู้ว่าดวงอาทิตย์มีกัมมันตภาพที่ขึ้นลงเป็นวัฏจักรโดยมีคาบประมาณ 11 ปี แต่ละวัฏจักรมีคาบผันแปรไประหว่าง 10-12 ปีโดยที่ไม่มีแบบจำลองใดอธิบายถึงที่มาได้ นักฟิสิกส์สุริยะจำนวนมากเชื่อว่าวัฏจักรนี้เกิดจากปรากฏการณ์ไดนาโมที่เกิดขึ้นโดย
...
(12 ก.ค. 58) ภาพล่าสุดจากยานนิวเฮอไรซอนส์ที่ทางนาซาได้เปิดเผยมา เป็นภาพที่ถ่ายได้ในวันที่ 11 กรกฎาคม ขณะที่ยานอยู่ห่างจากดาวพลูโตเพียง 4 ล้านกิโลเมตร ภาพนี้ได้เผยจุดสีคล้ำสี่จุดที่อยู่ในด้านที่หันเข้าหาดวงจันทร์คารอน ซึ่งเป็นด้านที่ยานจะมองไม่เห็นในขณะที่เฉียดผ่านดาวพลูโต
...
(22 มิ.ย. 58) หากคุณอาศัยอยู่บนดวงจันทร์นิกซ์หรือไฮดราของดาวพลูโต คุณคงจะต้องปวดหัวกับการตั้งนาฬิกาปลุกแน่ ๆ เพราะคุณจะไม่รู้เลยว่าวันไหนดวงอาทิตย์จะขึ้นเวลาใด และจะขึ้นจากทิศไหน นักวิทยาศาสตร์ได้วิเคราะห์ภาพถ่ายของดาวพลูโตที่ถ่ายไว้ในช่วงปี 2548-2555 พบว่าแสงที่สะท้อนจากดวงจันทร์นิกซ์และไฮดราผันแปรอย่างคาดเดาไม่ได้ สันนิษฐาน
...
(2 มิ.ย. 58) คาดว่ากลดของดาราจักรแอนดรอเมดามีมวลมากถึงครึ่งหนึ่งของมวลดาวฤกษ์ในดาราจักรรวมกัน หากเรามองเห็นกลดยักษ์ของแอนดรอเมดานี้ได้ด้วยตาเปล่า เมื่อมองขึ้นไปบนท้องฟ้า จะมองเห็นมันใหญ่กว่าดวง
...
(9 พ.ค. 58) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2556 ยานฉางเอ๋อ 3 ของจีน ได้ลงจอดที่เหนือทะเลฝนบนดวงจันทร์ได้อย่างสวยงามและนุ่มนวล หลังจากนั้นยานได้ปล่อยรถสำรวจหกล้อขนาดเล็กชื่อ อวี้ทู่ ออกไปวิ่งบนพื้นผิวของดวงจันทร์ ตามแผนการที่วางไว้ อวี้ทู่
...
(14 เม.ย. 58) คีท เบคโทล จากมหาวิทยาลัยชิคาโก หัวหน้าคณะสำรวจพลังงานมืด หรือ ดีอีเอส (DES--Dark Energy Survey) ซึ่งเป็นการสำรวจท้องฟ้าในย่านแสงขาวและอินฟราเรดใกล้โดยใช้กล้องวิกตอร์เอเมบลังโกขนาด 4 เมตรของหอดูดาวเซร์โรโตโลโลอินเตอร์อเมริกันในชิลี ได้พบวัตถุที่เป็นกลุ่มของ
...
(8 เม.ย. 58) ฟาร์กฮัด ยูเซฟ-ซาเดห์ จากมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นและคณะได้ใช้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วีแอลเอ ตรวจพบว่าสิ่งที่คล้ายจานกำเนิดดาวฤกษ์ 44 ใบ จานกำเนิดดาวฤกษ์เป็นก้อนแก๊สที่จับเป็นก้อนแบนหมุนวนรอบดาวฤกษ์ คอยป้อนแก๊สเข้าสู่ดาวฤกษ์ที่เพิ่งเกิดใหม่
...
(2 เม.ย. 58) ดาวบนท้องฟ้าที่เราเห็น มีทั้งที่เป็นดาวฤกษ์เดี่ยว และที่เป็นระบบดาว ระบบดาว หมายถึงดาวฤกษ์ที่มีมากกว่าหนึ่งดวงที่โคจรอยู่รอบกัน ผูกพันยืดเหนี่ยวกันอย่างแน่นแฟ้น ระบบดาวอาจเป็นดาวคู่ ดาวสามดวง ดาวสี่ดวง หรือมากกว่านั้น คณะนักวิทยาศาสตร์นำโดย ลูอิส รอเบิตส์ จากเจพีแอลในพาซาดีนา ได้ใช้ระบบปรับสภาพตามแสงโรโบเอโอที่ของหอดูดาวพาโลมาร์ในแคลิฟอร์เนียตรวจกวาดท้องฟ้าคืนละหลายร้อยดวง
...