(21 มิ.ย. 61) เมื่อปี 2558 ยานนิวเฮอไรซอนส์ได้พุ่งเข้าเฉียดดาวพลูโต นับเป็นครั้งแรกที่มียานไปสำรวจดาวเคราะห์แคระดวงนี้จากระยะใกล้ ยานได้ส่งข้อมูลสำคัญของดาวพลูโตกลับมามากมาย ทั้งด้านพื้นผิว องค์ประกอบ บรรยากาศ และระบบ
...
(24 พ.ค. 61) ในปลายปีหน้า จรวดเอสแอลเอส ซึ่งเป็นจรวดขับดันระวางบรรทุกสูงรุ่นใหม่ที่พัฒนาโดยนาซาจะปล่อยขึ้นสู่อวกาศเป็นครั้งแรกในชื่อภารกิจ อีเอ็ม-1 สัมภาระติดอยู่บนยอดของจรวดในครั้งนี้นี้คือยานโอไรอัน ในภารกิจอีเอ็ม-1 ยานโอไรอันจะยังไม่มีมนุษย์อวกาศเดินทางไปด้วย แต่จะมีหุ่นทดสอบสองตัวที่พัฒนาโดยศูนย์การบินอวกาศเยอรมนี
...
(19 พ.ค. 61) ที่ใจกลางของดาราจักรมวลสูงเกือบทุกแห่งมีหลุมดำขนาดยักษ์อยู่ เรียกว่าหลุมดำมวลยวดยิ่ง บางครั้งหลุมดำยักษ์นี้ก็ไม่ได้อยู่ที่แก่นกลางของดาราจักรเสมอไป แต่กลับย้ายที่ไปตามตำแหน่งต่าง ๆ ภายในดาราจักร บางครั้งอาจไปอยู่ถึงส่วนที่
...
(16 พ.ค. 61) จีนได้เปิดเผยแผนที่จะพัฒนาจรวดขนส่งชุดใหม่ที่จะมีศักยภาพพอที่จะเดินทางไปดวงจันทร์และอาจรวมถึงดาวอังคาร หนึ่งในจรวดขับดันที่ใช้ในชุดนี้คือ จรวดลองมาร์ช 8 ซึ่งคาดว่าจะขึ้นสู่อวกาศครั้งแรกได้ในราวปี 2564 เทคโนโลยีหนึ่งที่น่าสนใจของจรวดรุ่นนี้คือ จรวดท่อนล่างจะใช้ซ้ำได้ โดยหลังจากที่ปลดออกจากจรวดท่อนบนแล้ว
...
(8 พ.ค. 61) เป็นเวลากว่าสี่สิบปีมาแล้วที่โครงการอะพอลโลสิ้นสุดไป จากนั้นเป็นต้นมาก็ไม่เคยมีมนุษย์คนไหนไปเยือนดวงจันทร์อีกเลย แต่ดวงจันทร์กำลังจะกลายเป็นที่สนใจอีกครั้งเมื่อองค์กรอวกาศกำลังดำเนินโครงการส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์อีกครั้งในอนาคตอันใกล้ ไม่เพียงแต่องค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเท่านั้น องค์การอวกาศยุโรป รวมถึงรัสเซียและจีนก็คิด
...
(20 เม.ย. 61) เมื่อวันที่ 18 เมษายนที่ผ่านมา เวลา 17:51 น. ตามเวลาประเทศไทย จรวดฟัลคอน 9 ได้ทะยานขึ้นจากฐานปล่อย 40 ที่แหลมแคนาเวอรัลในฟลอริดา สัมภาระของการปล่อยจรวดในครั้งนี้คือ ดาวเทียมที่มีชื่อว่า เทสส์ ขององค์การนาซา เทสส์ (TESS--Transiting Exoplanet Survey Satellite) ถือเป็นทายาทของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์อย่างแท้จริง เพราะมีภารกิจ
...
(18 เม.ย. 61) ด้วยกำลังในการรวบรวมแสงของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล บวกกับปรากฏการณ์ธรรมชาติช่วยเสริม ทำให้นักดาราศาสตร์พบดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลที่สุดเท่าที่เคยพบ ดาวดวงนี้ส่องแสงมาตั้งแต่ที่เอกภพมีอายุเพียงหนึ่งในสามของปัจจุบันเท่านั้น
...
(12 เม.ย. 61) โอมูอามูอาเดินทางออกจากระบบสุริยะชั้นในไปไกลแล้ว แต่เรื่องของวัตถุต่างด้าวดวงนี้ยังไม่จบ ล่าสุดนักดาราศาสตร์จากสมาคมดาราศาสตร์หลวงแห่งสหราชอาณาจักรเสนอว่า วัตถุดวงนี้น่าจะมีต้นกำเนิดมาจากระบบดาวคู่
...
(11 เม.ย. 61) สำหรับดาวเคราะห์ต่างระบบดวงใหม่ที่ชื่อว่า เค 2-229 บี (K2-229b) น่าจะเรียกว่าซูเปอร์ดาวพุธ ดาวดวงนี้อยู่ห่างจากโลก 339 ปีแสง มีขนาดใหญ่กว่าโลก 20 เปอร์เซ็นต์ แต่กลับมีมวลมากถึง 2.6 เท่าของโลก แสดงว่า
...
(10 เม.ย. 61) ดาวคู่นี้มีชื่อว่า ไอจีอาร์ เจ 17329-2731 (IGR J17329-2731) ค้นพบโดยหอสังเตการณ์อินทีกรัลเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2560 นักดาราศาสตร์เชื่อว่าดาวสองดวงนี้ได้โคจรรอบกันเป็นดาวคู่มาเป็นเวลาหลายพันล้านปีแล้ว แต่นั่นไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจนัก เพราะดาวส่วนใหญ่ในเอกภพ
...
(14 มี.ค. 61) สตีเฟน ฮอว์กิง เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวอังกฤษ มีผลงานโดดเด่นในด้านทฤษฎีเกี่ยวกับหลุมดำและสัมพัทธภาพ มีงานเขียนหนังสือหลายเล่ม หนึ่งในนั้นเป็นที่รู้จักกันดีคือ "A Brief History of Time" ซึ่งขายได้มากกว่าสิบล้านเล่มทั่วโลก ทำให้เขากลาย
...
(10 ก.พ. 61) ฟัลคอนเฮฟวี เป็นจรวดขับดันที่ทรงพลังที่สุดในปัจจุบัน เป็นรองเพียงจรวดแซตเทิร์น 5 ที่เคยนำมนุษย์ไปสำรวจดวงจันทร์เท่านั้น พัฒนาขึ้นโดยสเปซเอกซ์ ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนด้านการบินอวกาศ สเปซเอกซ์ได้สร้างนวัตกรรมการบินที่สำคัญ นั่นคือการ
...
(20 ม.ค. 61) เป็นเวลานานมาแล้ว ที่มนุษย์มีความเชื่อว่าการเรียงตัวของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ หรือดวงอาทิตย์ มีความสัมพันธ์กับการเกิดภัยพิบัติบนโลก หนึ่งในความสัมพันธ์นั้นคือ ดิถีของดวงจันทร์ (การเกิดข้างขึ้น ข้างแรม จันทร์ดับ จันทร์เพ็ญ) กับการเกิดแผ่นดินไหว โดยเชื่อว่าช่วงวันที่ใกล้จันทร์เพ็ญหรือจันทร์
...
(15 ม.ค. 61) ระบบดาวเคราะห์แต่ละแห่งก็เปรียบเสมือนครอบครัว ๆ หนึ่ง มีดาวฤกษ์ที่เปรียบเหมือนแม่ผู้ให้กำเนิด ส่วนดาวเคราะห์ก็เปรียบเหมือนลูกที่กำเนิดจากแม่ รับแสงรับพลังงานและความโน้มถ่วงจากแม่ คอยโคจรรอบไม่ห่างหาย ถ้าเปรียบเทียบแบบนั้น ดาวอาร์แซดปลา (RZ Piscium) ก็คงเป็นแม่จอมโหด
...
(14 ม.ค. 61) สถานีอวกาศเทียนกง-1 ของจีน กำลังถูกจับตามองอย่างใกล้ชิด เนื่องจากสถานีหนัก 8 ตันแห่งนี้จะตกลงสู่โลกในเดือนมีนาคมนี้ สถานีเทียนกง-1 เป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของจีน เดิมมีกำหนดจะสิ้นสุดภารกิจในปี 2556 แต่องค์การอวกาศแห่งชาติจีน (ซีเอ็นเอสเอ) ได้ยืดภารกิจ
...
(14 ม.ค. 61) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม แพนสตารรส์-1 ซึ่งเป็นระบบค้นหาวัตถุแปลกปลอมในอวกาศได้ประกาศการค้นพบวัตถุท้องฟ้าดวงหนึ่ง มีชื่อว่า 1 ไอ/2017 ยู 1 หรือที่รู้จักกันในชื่อสามัญว่า โอมูอามูอา การที่พบว่าวัตถุดวงนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมากเกินกว่าจะเป็นวัตถุในระบบสุริยะของเรา จึงเชื่อได้ว่า
...
(27 ธ.ค. 60) อันดับ 10 ดาวเคราะห์น้อย 6125 สิงห์โต หลังจากเมื่อพ.ศ. 2558 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) ได้ตั้งชื่อดาว 47 หมีใหญ่ว่าดาวชาละวัน (Chalawan) ตามที่สมาคมดาราศาสตร์ไทยเสนอ ในปีนี้สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลก็ให้สิทธิ์สมาคมดาราศาสตร์ไทยเสนอชื่อดาวเคราะห์น้อยเพิ่มอีก 1 ดวง สมาคม
...
(17 ธ.ค. 60) เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา วงการดาราศาสตร์พากันตื่นเต้นกับการได้พบวัตถุจากนอกระบบสุริยะที่เข้ามาเยือนยังระบบสุริยะของเราเป็นครั้งแรก เมื่อแรกค้นพบ นักดาราศาสตร์เข้าใจว่าเป็นดาวหาง แต่การสำรวจในระยะต่อมาบอกว่าน่าจะเป็นดาวเคราะห์น้อยมาก
...
(1 ธ.ค. 60) อันตัน ชกาเปลรอฟ นักบินอวกาศชาวรัสเซีย ได้ปฏิบัติภารกิจบนสถานีอวกาศนานาชาติเป็นเวลาเกือบสองร้อยวันตั้งแต่ปลายปี 2557 หนึ่งในภารกิจที่เขาทำคือการเก็บตัวอย่างคราบที่เกาะอยู่ที่ผิวด้านนอกของสถานีด้วยก้านพันสำลี แล้วนำกลับมายังโลกเพื่อตรวจ
...
(21 พ.ย. 60) เมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา วงการดาราศาสตร์ต่างตื่นเต้นกับดาวหางดวงใหม่ที่มาจากนอกระบบสุริยะ วัตถุดวงนี้ได้เพิ่งเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดไปด้วยระยะ 0.25 หน่วยดาราศาสตร์ (37.6 ล้านกิโลเมตร) เมื่อวันที่ 9 กันยายน ได้ชื่อชั่วคราวตามระบบว่า ซี/2017 ยู 1 (C/2017 U1)
...