(28 ส.ค. 46) นับตั้งแต่ปี 2535 ยานยูลีสซีสได้สำรวจระบบสุริยะมาอย่างต่อเนื่องจากหลายมุมมอง ภารกิจหนึ่งในหลายภารกิจของยูลีสซีสคือ สำรวจกระแสของฝุ่นดาวที่พัดผ่านระบบสุริยะ ปัจจุบันดวงอาทิตย์พุ่งผ่านกลุ่มเมฆของฝุ่นดาวก้อนหนึ่งด้วยอัตราเร็ว 26 กิโลเมตรต่อวินาที ด้วยอัตราเร็วเท่านี้ ฝุ่นแต่ละเม็ดจะใช้เวลา 20 ปีในการเดินทางผ่านระบบสุริยะ จากการสำรวจด้วยอุปกรณ์ที่ชื่อว่าดัสต์ของยานพบว่าสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีผลต่อกระแสของ
...
(19 ก.ค. 46) ดาวอะเคอร์นาร์ หรือ ดาวแอลฟาแม่น้ำ เป็นดาวสว่างที่รู้จักกันดีในซีกฟ้าใต้ มีอันดับความสว่าง 0.5 เป็นดาวสว่างเป็นอันดับ 9 บนท้องฟ้า อยู่ห่างจากโลก 145 ปีแสง เป็นดาวฤกษ์ชนิดบี มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 6 เท่า เมื่อเร็ว ๆ นี้นักดาราศาสตร์พบว่า ดาวอะเคอร์นาร์มีความพิเศษเหนือกว่าดาวดวงใด นั่นคือเป็นดาวที่แป้นที่สุดในท้องฟ้า
...
(18 ก.ค. 46) นักดาราศาสตร์คณะหนึ่งนำโดย บอนนาร์ด เจ. ทีการ์เดน จากศูนย์การบินอวกาศกอดดาร์ดของนาซา ได้ค้นพบดาวฤกษ์ดวงใหม่ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะของเรามาก ดาวดวงนี้มีชื่อว่า SO 025300.5+165258 มีอันดับความสว่าง 15.4 ซึ่งเกือบเท่ากับขีดจำกัดของกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ซีซีดี จึงไม่น่าแปลกใจที่จะหลุดร
...
(11 ก.ค. 46) องค์การอวกาศแคนาดา ได้ปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศโมสต์ (MOST--Microvariability and Oscillations of Stars) ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศกล้องแรกขององค์การขึ้นสู่วงโคจรเป็นผลสำเร็จเมื่อวันที่ 30 มิถุนายนที่ผ่านมา กล้องโทรทรรศน์อวกาศโมสต์ มีขนาดประมาณกระเป๋าเดินทางเท่านั้น กล้องหลักมีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 15 เซนติเมตร นับเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่เล็กที่สุดในโลก แต่คุณภาพของกล้องไม่ได้.
...
(7 ก.ค. 46) นักดาราศาสตร์ยุโรปได้พบหลักฐานสำคัญที่สนับสนุนว่า ดาวฤกษ์มวลสูงเกิดขึ้นจากการสะสมดาวทีละน้อย ไม่ใช่เกิดจากการชนและหลอมรวมกันของดาวฤกษ์ดวงเล็ก ดาวฤกษ์มวลสูงมีอายุสั้น ทำให้การศึกษากำเนิดของดาวฤกษ์จำพวกนี้ทำได้ยากเนื่องจากหาดาวฤกษ์มวลสูงที่ยังอยู่ช่วงต้นไม่ค่อยพบ โดยเฉพาะช่วงที่ยังเป็นดาวก่อนเกิด (protostar) ซึ่งดาวยังถูกห้อมล้อมด้วยม่านก๊าซและฝุ่นในช่วงที่ใกล้จะเป็นดาวฤกษ์ที่สมบูรณ์
...
(13 มิ.ย. 46) โดยปรกติ ดวงอาทิตย์มีขั้วแม่เหล็กสองขั้วเช่นเดียวกับโลก คือขั้วเหนือและขั้วใต้ แต่ในช่วงเดือนมีนาคม 2543 ขั้วใต้แม่เหล็กของดวงอาทิตย์อ่อนลงและเกิดขั้วเหนือขึ้นแทนที่ กลายเป็นดาวฤกษ์ที่มีขั้วเหนือสองขั้ว แม้เรื่องนี้จะฟังดูเป็นเรื่องเหลือเชื่อแต่ก็เกิดขึ้นจริง ปรากฏการณ์นี้เป็นผลข้างเคียงจากวัฏจักรสุริยะ ซึ่งมีคาบ 11 ปีเนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงของไดนาโมใน
...
(13 มิ.ย. 46) ในที่ประชุมสมาคมดาราศาสตร์อเมริกันที่แนชวิลล์ คณะนักดาราศาสตร์ที่นำโดยซูซาน จี. เนฟฟ์ จากนาซาและศูนย์การบินอวกาศกอดดาร์ด เจมส์ เอส. อัลเวสทัด จากหอดูดาววิทยุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา และ สเตซี เติ้ง จากมหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ ได้แสดงผลการสำรวจซากซูเปอร์โนวา 5 ซากในกระจุกดาวกระจุกหนึ่งในในดาราจักรอาร์ป 299 (Arp 299)
...
(8 มิ.ย. 46) เมื่อต้นเดือนมกราคม 2545 นิโคลัส บราวน์ นักดาราศาสตร์สมัครเล่นชาวออสเตรเลียถ่ายภาพกลุ่มดาวยูนิคอร์น เขาได้สังเกตว่ามีดาวอันดับความสว่าง 10 ดวงหนึ่งปรากฏอยู่ในที่ ๆ ไม่เคยมีมาก่อน หลังจากที่โลกทราบข่าวการค้นพบนี้ นักดาราศาสตร์ทั้งมืออาชีพและสมัครเล่นทั่วโลกต่างพุ่งความสนใจมายังดาวดวงนี้ และได้พบว่ามีความสว่างมากขึ้น
...
(8 มิ.ย. 46) เดือนมกราคม พ.ศ. 2548 เป็นเวลาตามกำหนดที่ยานยานแคสซินีจะเดินทางไปถึงดาวเสาร์ และปล่อยยานสำรวจไฮเกนส์ลงไปบนดวงจันทร์ไททัน ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อมาเป็นเวลานานว่าเป็นโลกแห่งไฮโดรคาร์บอน แต่จากข้อมูลการสำรวจไททันโดยกล้องบนพื้นโลก ชี้ว่าสิ่งที่ยานไฮเกนส์พบอาจเป็นโลกแห่งน้ำแข็งแทน.
...
(26 พ.ค. 46) ดาวเนปจูน เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างไกลเป็นอันดับที่ 8 ของระบบสุริยะ และมีลักษณะและความเปลี่ยนแปลงน้อยมากจนดูเหมือนเป็นดาวเคราะห์ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่นักดาราศาสตร์เพิ่งพบว่า ดาวเคราะห์ดวงนี้อาจมีฤดูกาลด้วย
...
(23 พ.ค. 46) ยานมาร์สเอกซ์เพรส ได้กำหนดวันที่ขึ้นสู่อวกาศใหม่แล้วเป็นวันที่ 2 มิถุนายน ที่ไบโคนอร์ ประเทศคาซัคสถาน ยานมาร์สเอกซ์เพรสเป็นยานสำรวจดาวอังคารลำแรกและถือเป็นยานนำร่องของโครงการสำรวจดาวอังคาร ขององค์การอวกาศยุโรป เพราะหลังจากนี้ระหว่างปี 2546 ถึง 2547 จะมียานอวกาศจากอีเอสโอไปสำรวจดาวอังคารอีกไม่น้อยกว่าสี่ลำ
...
(15 พ.ค. 46) เป็นที่ยอมรับกันมาอย่างกว้างขวางว่า ราว 90 เปอร์เซ็นต์ของมวลในเอกภพเป็นมวลของสสารที่มองไม่เห็นหรือที่เรียกกันว่า สสารมืด แนวคิดนี้เกิดขึ้นในต้นทศวรรษ 1970 โดย วีรา รูบิน เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่แปลกประหลาดที่ขอบด้านนอกของดาราจักรชนิดก้นหอย ซึ่งมีความเร็วไม่สอดคล้องกับการกระจายมวลตามรูปของดาราจักรที่ปรากฏ หากมวลของดาราจักรมีการกระจายเช่นเดียวกับรูปของดาราจักรนั่นคือมีมวลแน่นที่สุดตรงดุมของดาราจักร
...
(14 พ.ค. 46) เมื่อเวลา 6.37 นาฬิกา (EST) ของวันที่ 29 มีนาคม ได้เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ที่ตำแหน่งห่างออกไปสองพันล้านปีแสง มีความสว่างในย่านรังสีแกมมายิ่งกว่าวัตถุอื่นในเอกภพทั้งหมดรวมกัน การระเบิดกินเวลา 30 วินาที หลังจาก
...
(26 เม.ย. 46) โครงการทูไมครอนออลสกายเซอร์เวย์ หรือ ทูแมส (2MASS--Two Micron All Sky Survey) ได้เสร็จสิ้นภารกิจในการถ่ายภาพทั่วฟ้าแล้ว ทิ้งผลงานคือแผนที่ท้องฟ้ากว่า 5 ล้านภาพ แสดงวัตถุท้องฟ้า
...
(24 เม.ย. 46) ในจำนวนดาวฤกษ์นับแสนนับล้านดวงในดาราจักรของเรา มีดาวเพียงดวงเดียวที่เรารู้จักดีที่สุดก็คือดวงอาทิตย์ นักดาราศาสตร์ได้พยายามประยุกต์แบบจำลองของดวงอาทิตย์เพื่อใช้กับดาวฤกษ์ดวงอื่น การทดลองกับกล้องวีแอลทีทำให้นักดาราศาสตร์สามารถวัดขนาดของดาวฤกษ์ใกล้เคียงทางตรงได้เป็นครั้งแรก เป็นการยืนยันความถูกต้องของแบบ
...
(23 เม.ย. 46) นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาวายและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงใหม่ของดาวเสาร์เพิ่มขึ้นอีก 1 ดวง ดวงจันทร์ดวงนี้พบเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ด้วยกล้องซุบะรุ ขนาด 8.3 เมตร ที่ยอดเขามานาเคอา หลังจากนั้นจึงติดตาม
...
(12 เม.ย. 46) ปัจจุบันนักดาราศาสตร์รู้จักและค้นพบหลุมดำมาแล้วหลายดวง หลุมดำเท่าที่ค้นพบมาพอจะแบ่งออกเป็นสองชนิดใหญ่ ๆ ตามมวลคือ หลุมดำยักษ์ ซึ่งมีมวลหลายล้านหรือถึงหลายพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์ อยู่ตามใจกลางของดาราจักรต่าง ๆ อีกชนิดหนึ่งคือหลุมดำมวลดาวฤกษ์ ซึ่งมีมวลเพียงไม่กี่
...
(12 เม.ย. 46) เมื่อ 17 ปีก่อน นักดาราศาสตร์ได้สำรวจดาว HD 141569A ด้วยดาวเทียมไอราส พบว่าดาวดวงนี้มีการแผ่รังสีอินฟราเรดมากผิดปรกติ คาดกันว่ารังสีอินฟราเรดส่วนเกินนี้เกิดจากฝุ่นก๊าซในจานพอกพูนมวล (accreation disc) ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบในการสร้างดาวเคราะห์ล้อมรอบดาวอยู่ ดังนั้นดาวดวงนี้จึงเป็นที่คาดหมายว่าน่าจะมีดาวเคราะห์เป็นบริวารอยู่
...
(1 เม.ย. 46) นักดาราศาสตร์เคยคิดว่า สิ่งที่ใหญ่ที่สุดบนดาวพฤหัสบดีคือจุดแดงใหญ่ แต่ยานแคสซินีได้ค้นพบคู่แข่งที่พอฟัดพอเหวี่ยงของจุดแดงใหญ่แล้ว นั่นคือ “จุดดำใหญ่” ความจริงแล้วแคสซินีไม่ใช่ผู้ค้นพบจุดดำใหญ่เป็นรายแรก ก่อนหน้านี้ในปี 2540 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเคยถ่ายภาพของจุดดำใหญ่นี้มาก่อนในภาพอัลตราไวโอเลต ซึ่งนั่นเป็นเพียงภาพเดียวที่ถ่ายได้ และหลังจากนั้นก็ไม่เคยได้ภาพ
...
(15 มี.ค. 46) หลังจากการปฏิบัติภารกิจอันยาวนานถึง 13 ปีและโคจรรอบดาวพฤหัสบดีมาถึง 34 รอบ ยานกาลิเลโอได้จบภารกิจลงแล้วอย่างสมเกียรติ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้ควบคุมยานกาลิเลโอขององค์การนาซาได้ปิดเครื่องบันทึกแถบข้อมูลหน่วยความจำและปิดการสื่อสารระหว่างยานกับโลกลง เป็นการยุติภารกิจอันยาวนาน
...