(1 มิ.ย. 43) เมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ได้เปิดเผยภาพล่าสุดจากยานกาลิเลโอเมื่อปลายเดือนที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าไอโอของดาวพฤหัสบดีมีภูเขาไฟมากกว่าที่เคยคิดไว้มาก
...
(1 มิ.ย. 43) คณะนักดาราศาสตร์นำโดย ดร.สตีเวน ออสโทรจากเจพีแอลของนาซาได้ใช้สถานีสังเกตการณ์เอริซิโบขนาด 305 เมตรในเปอร์โตริโก ถ่ายภาพดาวเคราะห์น้อย 216 คลีโอพัตรา (216 Kleopatra)ได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งเป็นการถ่ายภาพดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยได้เป็นครั้งแรก
...
(1 พ.ค. 43) การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์นับเป็นเรื่องอมตะที่สุดเรื่องหนึ่งในแวดวงวิทยาศาสตร์ ตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา หลายหลากทฤษฎีถูกตั้งขึ้นมาเพื่ออธิบายสาเหตุของการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในครั้งนั้น จนเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ ได้มีหลักฐานที่ค่อนข้างหนักแน่นว่า เกิดจากดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่พุ่งชนโลกที่
...
(1 พ.ค. 43) นักดาราศาสตร์ได้ใช้สถานีสังเกตการณ์เอกซ์เรย์จันทรา (Chandra X-ray Observatory) พัฒนาวิธีใหม่ในการหาระยะทางของวัตถุในเอกภพ วิธีนี้สามารถวัดระยะห่างของวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดรังสี
...
(1 พ.ค. 43) เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2539 ในขณะที่ยานยูลิสซีส ยานสำรวจดวงอาทิตย์กำลังโคจรอยู่ในอวกาศ ได้ตรวจพบตัวเองกำลังโคจรอยู่ในหางของดาวหางเฮียะกุตาเกะ ทั้ง ๆ ที่ในขณะนั้นยานอยู่
...
(1 พ.ค. 43) วิศวกรจากศูนย์วิจัยเอมส์ของนาซา ได้เสนอแนวคิดในการสำรวจและเก็บตัวอย่างจากดาวหางแบบใหม่โดยตั้งชื่อว่า ภารกิจวิเคราะห์นิวเคลียสดาวหางแบบนกฮัมมิง แนวคิดนี้จะให้ยานสำรวจเคลื่อนเข้าใกล้นิวเคลียสของดาวหางด้วยการ
...
(1 เม.ย. 43) เควซาร์ที่ถูกค้นพบนี้มีชื่อว่า SDSS 1044-0125 ถูกค้นพบโดย Sloan Digital Sky Survey (SDSS) ในนิวเม็กซิโก ในตอนแรกเควซาร์นี้ดูไม่ต่างอะไรกับดาวฤกษ์สีแดงจาง ๆ ดวงหนึ่ง แต่สเปกตรัมของดวงนี้มีการเลื่อนมาทางสีแดง (การเลื่อนไปทางแดง) มากถึง 5.8 จึงแน่ใจได้ว่าวัตถุดวงนี้จะเป็นอย่างเป็น
...
(1 เม.ย. 43) ภาพนี้เป็นภาพจากยานมาร์สโกลบัลเซอร์เวเยอร์ที่ถ่ายได้เมื่อต้นเดือนเมษายนนี้ เป็นภาพพื้นผิวบริเวณขั้วใต้ของดาวอังคารที่มีความละเอียดสูงมาก แสดงพื้นผิวที่ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ซึ่งเกิดจากการทับถมสลับกันระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์แข็ง (น้ำแข็งแห้ง) น้ำแข็ง และฝุ่นละเอียด ความหนาและ
...
(1 เม.ย. 43) นักดาราศาสตร์นักล่าดาวเคราะห์ได้ทะลายขีดจำกัดในการค้นหาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอื่นไปอีกระดับหนึ่งแล้ว เมื่อสามารถพบดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอื่นดวงใหม่อีกสองดวงที่มีมวลน้อยระดับดาวเสาร์
...
(1 เม.ย. 43) วารสาร Nature ฉบับ 22 มีนาคม ได้ตีพิมพ์รายงานการค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาลึกลับใหม่จำนวนมากที่อยู่ในดาราจักรทางช้างเผือก แหล่งกำเนิดรังสีแกมมานี้แตกต่างจาก แสงวาบรังสีแกมมา (Gamma-ray Burst) ที่คุ้นเคยกัน เพราะแสงวาบรังสีแกมมาปล่อยรังสีแกมมาออกมาเพียงช่วง
...
(1 เม.ย. 43) เมื่อวันที่ 1 เมษายนที่ผ่านมา ยาน เนียร์ ชูเมกเกอร์ (NEAR Shoemaker) ได้ปรับวงโคจรอีกครั้งจากวงกลมที่ห่างจากผิวดาว 205 กิโลเมตร เขาสู่วงโคจรใหม่ที่เป็นวงรีมีระยะห่างจากผิวดาวระหว่าง 100 ถึง 200 กิโลเมตร ระยะที่ห่างเพียง 100 กิโลเมตรทำให้นักดาราศาสตร์เชื่อว่าจะสามารถ
...
(1 มี.ค. 43) นักดาราศาสตร์ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลค้นพบดวงจันทร์ คอร์ดีเลีย (Cordelia) และ โอฟีเลีย (Ophelia) ดวงจันทร์ขนาดเล็กของดาวยูเรนัสที่ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกโดยยานวอยเอเจอร์ 2 เมื่อเดือนมกราคม 2529 แต่หลังจากนั้นก็ไม่มีใครเห็นดวง
...
(1 มี.ค. 43) นาซาได้เปลี่ยนชื่อยานอวกาศ เนียร์ (NEAR-Near-Earth Asteroid Rendezvous) ใหม่เป็น เนียร์ ชูเมกเกอร์ (NEAR Shoemaker) เพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร. ยูจีน เอ็ม ชูเมกเกอร์ นักธรณีวิทยาและนักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่
...
(1 มี.ค. 43) องค์การนาซาได้อนุมัติให้ดำเนินภารกิจอวกาศใหม่แล้ว ภารกิจนี้มีชื่อว่า คอนทัวร์ (Contour) ย่อมาจาก Comet Nucleus Tour เป็นภารกิจหนึ่งในโครงการดิสคัฟเวอรี มีหน้าที่สำรวจดาวหางสามดวง ขณะนี้ได้ผ่านการตรวจแบบเบื้องต้นแล้ว คาดว่าจะเริ่มลงมือสร้างยานในเร็ว ๆ นี้ และพร้อมจะ
...
(1 มี.ค. 43) หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ (NRAO-National Radio Astronomy Observatory) ได้แถลงว่า กล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาด 12 เมตร ที่ตั้งอยู่ที่เขาคิตต์พีกในแอริโซนา จะต้องปิดตัวลงในวันที่ 1 กรกฎาคมนี้ เนื่องจากปัญหาด้านงบประมาณ
...
(1 มี.ค. 43) ยานอวกาศสตาร์ดัสต์ของนาซา ได้เริ่มปฏิบัติการเก็บฝุ่นอวกาศเป็นครั้งแรกแล้ว เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา หลังจากการเดินทางออกจากโลกไปกว่าป.
...
(1 มี.ค. 43) เมื่อเวลา 15.33 น. ของวันที่ 14 กุมภาพันธ์ตามเวลาสากล ยานเนียร์ได้จุดจรวดเพื่อลดความเร็วของยานลงจนกระทั่งเหลือเพียง 1 เมตรต่อวินาทีเทียบกับอีรอส เพื่อให้ช้าพอให้สนามความโน้มถ่วงอันอ่อนบางของดาวเคราะห์น้อยสามารถคว้าจับ
...
(1 ก.พ. 43) เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2542 ที่ผ่านมา ได้เกิดปัญหากับสถานีสังเกตการณ์รังสีแกมมาคอมป์ตัน (Compton Gamma Ray Observatory) ขึ้นโดยไจโรหมายเลข 3 ซึ่งเป็นหนึ่งในไจโรทั้งสามตัวของดาวเทียมดวงนี้ได้เสียไป จริง ๆ แล้วการเสียหายของไจโรหนึ่งตัวไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจของคอมป์ตันแต่อย่างใด เพราะไจโรอีกสองตัวยังเพียงพอสำหรับปฏิบัติงานของยานต่อไปได้ แต่ความเสี่ยงจะมากขึ้น เพราะหากไจโรตัวที่สองเกิดเสียตามไป นอกจากจะทำให้ไม่สามารถปฏิบัติ
...
(1 ก.พ. 43) รายงานการวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature ฉบับ 13 มกราคม โดย เดวิด ราบิโนวิตซ์ ระบุว่าจำนวนของดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก (NEA - Near-Earth Asteroid) อาจมีน้อยกว่าที่เคยคาดไว้ จากการสำรวจโดยระบบติดตามดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก (NEAT-Near-Earth Asteroid Tracking) ทำให้เขาสรุปได้ว่า
...
(1 ก.พ. 43) ยานแคสซีนีได้เข้าใกล้แถบดาวเคราะห์น้อยเมื่อวันที่ 23 มกราคม ยานได้เฉียดดาวเคราะห์น้อย 2685 มาเซอร์สกี (2685 Masursky) ที่ระยะ 1.5 ล้านกิโลเมตร พร้อม ๆ กันนี้ยานได้สำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ด้วยกล้องถ่ายรูปธรรมดา กล้องอินฟราเรด และสเปกโทรมิเตอร์รังสีอัลตราไวโอเลต เพื่อที่จะรับทราบข้อมูลเพิ่มเติมทั้งรูปร่างและสี นอกจากนี้การเข้าใกล้ในครั้งนี้
...