สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ปรากฏการณ์ท้องฟ้า

วันนี้ (21 มกราคม 2568)
  • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวรวงข้าว (สไปกา) ในกลุ่มดาวหญิงสาว 3°
  • ดวงจันทร์อยู่ไกลโลกที่สุด (404,298 กม.)
  • พลูโตอยู่ร่วมทิศกับดวงอาทิตย์

กลุ่มดาว
ดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์
ดาวพุธ
ดาวศุกร์
ดาวอังคาร
ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์

ดูปรากฏการณ์ท้องฟ้าอื่น

ข่าวดาราศาสตร์

พบพัลซาร์คาบยาว พานักดาราศาสตร์มึน

(16 ม.ค. 68) พัลซาร์นี้มีชื่อว่า แอสแคป เจ 1839-0756 (ASKAP J1839-0756) ค้นพบโดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุแอสแคปขององค์การวิจัยวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมแห่งเครือจักรภพหรือซีเอสไออาร์โอที่ตั้งอยู่ในเขตวาจาร์รียามาจีของเวส...

ต้นกำเนิดอันพิสดารของฝนดาวตกคนคู่

(4 ม.ค. 68) ฝนดาวตกคนคู่ เกิดขึ้นราววันที่ 14-15 ธันวาคมของทุกปี ฝนดาวตกนี้มีความพิเศษหลายอย่าง เช่นมีอัตราตกที่สูงได้ถึง 150 ดวงต่อชั่วโมง มีความเร็วของดาวตกสูงเพราะสะเก็ดดาวของฝนดาวตกนี้พุ่งเข้าใส่โลกด้วยความเร็วถึง 127,000 กิโลเมตรต่อ...

พบแหล่งของคลื่นวิทยุกำเนิดซ้ำคาบยาว

(13 ธ.ค. 67) คณะนักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคอร์ทินในเพิร์ท ออสเตรเลีย ได้กวาดกล้องโทรทรรศน์เมอร์ชิสันไวด์ฟิลด์ในเวสเทิร์นออสเตรเลียไปบนท้องฟ้า แล้วพบคลื่นวิทยุกำเนิดซ้ำคาบยาวแห่งใหม่ มีชื่อว่า กลีม-เอกซ์ เจ 0704-37 (GLEAM-X J0704-37) มีคาบการแผ่คลื่นนานถึง 2.9 ชั่วโมง ตำแหน่งที่พบอยู่ในกลุ่ม...

ดูข่าวอื่น

บทความ

เตรียมรับมือยุคดาวเทียมล้นฟ้า ในวันที่ดาวเทียมมีมากกว่าดาวแท้

(18 ธ.ค. 67) การสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยฝูงดาวเทียม ต่างจากการใช้ดาวเทียมสื่อสารที่ใช้ดาวเทียมเพียงไม่กี่ดวงโคจรอยู่ที่วงโคจรค้างฟ้าซึ่งสูงจากพื้นดินมาก ระบบฝูงดาวเทียมจะใช้ดาวเทียมโคจรในระดับต่ำเพื่อลดการหน่วงเวลา แต่การที่โคจร ...

ประตูแมวของเซอร์ไอแซก นิวตัน

(15 ธ.ค. 67) มีเรื่องเล่าว่า ขณะที่นิวตันทำงานอยู่ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่ห้องทำงานของนิวตันมีแมวแม่ลูกคู่หนึ่ง นิวตันรู้สึกรำคาญที่แมวชอบมาข่วนประตูร้องเรียกให้คนมาเปิดประตูให้ จึงเกิดความคิดสุดวิเศษที่จะทำช่องทางเฉพาะสำหรับให้แมวเข้า ...

โศกนาฏกรรมอวกาศ

(24 พ.ย. 67) ในเส้นทางของการบุกเบิกการเดินทางสู่อวกาศ มีเหล่าผู้กล้าที่ต้องสังเวยชีวิตไปในระหว่างการเดินทางไปแล้วถึง 21 คน คิดเป็น 3.23 เปอร์เซ็นต์ของมนุษย์ที่ได้ขึ้นสู่อวกาศทั้งหมด ถือว่าสูงที่สุดในบรรดาการเดินทางทุกรูปแบบ ...

สาระเก็บตก จากมหกรรมแสงเหนือ

(13 พ.ค. 67) สุดสัปดาห์ (11-12 พฤษภาคม 2567) ที่ผ่านมา เรื่องหนึ่งที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากก็คือเรื่องของแสงเหนือที่มีการพบเห็นกันในหลายส่วนของโลก มีการแชร์การโพสภาพแสงเหนือสุดตระการตากันเกลื่อนเฟซบุ๊ก และแฮตช์แท็ก #พายุสุริยะ ก็ติดอันดับในเอกซ์อยู่นาน ...

ดูบทความอื่นในห้องสมุด

สนับสนุนโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บริษัท โกรวิ่งพอยท์ โอเอ แอนด์ เน็ทเวิร์ค จำกัด

บทความพิเศษ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับเวลามาตรฐานประเทศไทย
พระมหากษัตริย์ไทยกับดาราศาสตร์
200 ปี พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สื่อการเรียนรู้

กิจกรรมถัดไป

จากทางบ้าน

Comet C/2023 A3 (Tsuchinshan-ATLAS)
จาก.. ธีธัช กันยุบล
(24 ต.ค. 67)

ภาพอื่น ๆ

คู่มือใช้แผนที่ฟ้า

วิธีใช้แผนที่ฟ้ารุ่น "ชาละวัน" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทยอย่างละเอียด

แผ่นหมุน ๓๐๐ ปีดิถีจันทร์

คู่มือใช้แผ่นหมุน "๓๐๐ ปีดิถีจันทร์" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทย (pdf)

วารสารทางช้างเผือก

ตุลาคม-ธันวาคม 2564
คู่มือดูดาวปี 2565

ดูเพิ่ม

Webmaster login