สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ห้องสมุดดาราศาสตร์

พจนานุกรมดาราศาสตร์

ศัพท์ดาราศาสตร์น่ารู้ พร้อมศัพท์บัญญติและความหมาย

วารสารทางช้างเผือก

วารสารฉบับรายสามเดือนของสมาคมดาราศาสตร์ไทย

สารพันคำถาม

รวมคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับดาราศาสตร์

อ้าว.. เหรอ

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับดาราศาสตร์

จริงหรือไม่ ใช่หรือมั่ว

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีการเผยแพร่กันในโซเชียลมีเดีย

ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้า

ข้อมูลด้านกายภาพและวงโคจรของวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ฯลฯ

ข้อมูลทั่วไป

บทความ

เมื่อรัสเซียพกปืนไปอวกาศ

(13 มี.ค. 67) ทราบหรือไม่ มนุษย์อวกาศรัสเซียเขาพกปืนขึ้นไปในอวกาศด้วยนะ เรื่องนี้มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยที่ยุคอวกาศเริ่มต้นขึ้น ยานอวกาศที่มีมนุษย์ของฝ่ายโซเวียตไม่ว่าจะเป็นรุ่นบุกเบิกอย่างวอสตอก วอสฮอด และโซยุซ ล้วนเป็นมอดูลที่ออกแบบให้ลงจอดบนแผ่นดิน โดยมีร่มชูชีพคอยพยุงจนพื้นพื้น ...

เสียงจากดาวตก เรื่องจริงหรือคิดไปเอง?

(12 เม.ย. 66) โดยปกติ ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์เป็นปรากฏการณ์แบบหนังเงียบ มีเพียงภาพให้มองเห็นเท่านั้น ไม่ว่าปรากฏการณ์นั้นจะมีความรุนแรงหรือทรงพลังเพียงใด จึงไม่มีใครเคยได้ยินเสียงสุริยุปราคา เสียงซูเปอร์โนวา หรือเสียงดาวหาง เรารับรู้ปรากฏการณ์เหล่านั้นผ่านทางแสง ...

เมื่อหินอวกาศตกมาจากฟ้า

(4 ต.ค. 65) ดาวตก ไม่ใช่ดาวที่ตกลงมาจากฟ้า แต่เป็นแสงสว่างวาบที่พุ่งมาเป็นทางจากท้องฟ้า เกิดจากวัตถุแข็งในอวกาศพุ่งฝ่าชั้นบรรยากาศเข้ามาด้วยความเร็วสูง แรงอัดอากาศจากการที่พุ่งปะทะบรรยากาศทำให้เกิดความร้อนสูงจนส่องสว่างขึ้นมา บางครั้งก็เรียก ผีพุ่งไต้ ฉะนั้น ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...

รู้จักดาวหาง

(5 มิ.ย. 58) มนุษย์รู้จักดาวหางมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล บันทึกเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับดาวหางเป็นบันทึกของนักดาราศาสตร์ชาวจีนที่เขียนรูปดาวหางลงบนผ้าไหม อยู่ในยุคราชวงศ์ชางของจีน ซึ่งมีอายุถึงกว่าสามพันปีมาแล้ว บันทึกเรื่องของดาวหางจากยุโรปก็มีมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาลเช่นกัน ในอดีต ผู้คนยังไม่รู้จักดาวหางมากไปกว่ารู้ว่าเป็นก้อนอยู่บนฟ้าที่ทอดหางยาว คนในยุคนั้นส่วนใหญ่มองดาวหางไปในทางอัปมงคล เช่นเป็นลางร้าย เป็นทูตแห่งความตายและสงคราม ...

ดาวหางยักษ์ในอดีต

(5 มิ.ย. 58) ในบันทึกเกี่ยวกับดาวหางนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดาวหางหลายดวงที่ได้รับการขนานนามว่า ดาวหางยักษ์ ชื่อนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกดาวหางที่สว่างมากเป็นพิเศษ มองเห็นได้สะดุดตาแม้เพียงแหงนหน้าขึ้นมองท้องฟ้า ดาวหางยักษ์บางดวงถึงกับมองเห็นได้แม้ในเวลากลางวัน การที่ดาวหางดวงใดจะสว่างจนได้ชื่อว่าเป็นดาวหางยักษ์ได้นั้น ไม่จำเป็นต้องมีขนาดใหญ่เสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสามอย่าง คือ มีนิวเคลียสที่ใหญ่และไวต่อการกระตุ้น เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มาก ...
.
1
.

ดาวแมว อยู่ที่ไหน?

(17 ธ.ค. 66) บนท้องฟ้ามีกลุ่มดาวชื่อสัตว์อยู่มากมาย ทั้งหมา กิ้งก่า งู ปู ปลา อีกทั้งสัตว์ประหลาดอีกสารพัด แต่ทำไมไม่มีกลุ่มดาวแมวเลย ...

รู้จักอุลกมณี

(3 มี.ค. 66) นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า นานมาแล้ว ได้มีดาวเคราะห์น้อยพุ่งเข้าชนโลก แรงชนทำให้เกิดความร้อนและพลังงานจลน์มหาศาล ทำให้หินและทรายบนผิวโลกร้อนจนหลอมละลายและกระเด็นออกไปไกล หินหลอมเหลวที่กระเด็นออกไป ต่อมาได้จับตัวกันเป็นก้อนใหญ่ขึ้นพร้อมกับ ...

โลกกลวงของจอห์น ควินซี แอดัมส์

(27 ม.ค. 66) ในสมัยนั้นคนจำนวนหนึ่งมีความเชื่อว่าโลกไม่ได้เป็นทรงกลมตันดังที่เราทราบกันในปัจจุบัน หากแต่เป็นทรงกลมกลวง จอห์น คลีฟส์ ซิมส์ จูเนียร์ เจ้าทฤษฎีนี้อธิบายว่า ลึกลงไปใต้ผิวโลกคือโพรงกว้างใหญ่มหึมา มีสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอยู่ ...

จรวดเอสแอลเอส จอมพลังรุ่นใหม่ของนาซา

(14 พ.ย. 65) การนับถอยหลังการส่งจรวดในภารกิจอาร์เทมิส 1 ได้เริ่มขึ้นแล้ว หากไม่มีอะไรผิดพลาดเกิดขึ้น อาร์เทมิส 1 จะพุ่งทะยานขึ้นจากโลกในบ่ายของวันที่ 16 เพื่อมุ่งหน้าสู่ดวงจันทร์ตามก้าวแรกในภารกิจนำมนุษย์กลับไปดวงจันทร์อีกครั้งขององค์การนาซา เมื่อเรามองภาพการส่งจรวดของอาร์เทมิส สิ่งหนึ่งที่เห็นโดดเด่นเป็นสง่าบนฐานส่งจรวดคือ จรวดลำยักษ์สูงเสียดฟ้าที่มีชื่อว่า เอสแอลเอส ...

วันดาวเคราะห์น้อยสากล

(3 พ.ย. 65) วันดาวเคราะห์น้อยสากล ก่อตั้งขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์และผู้สนใจกลุ่มหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นสำนึกของผู้คนให้ตระหนักทราบถึงอันตรายจากดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลก และร่วมกันศึกษาหาหนทางป้องกัน โดยถือเอาวันที่ 30 มิถุนายน ...

คลื่นความโน้มถ่วง อีกหนึ่งบทพิสูจน์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

(27 ต.ค. 65) คลื่นความโน้มถ่วง คือระลอกความเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของปริภูมิเวลาที่แผ่ออกไปในอวกาศคล้ายแสง แต่คลื่นความโน้มถ่วงไม่ใช่แสง ไม่ใช่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แม้จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงก็ตาม เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งกล่าวไว้ใน ...

ยานลูซีกับภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อยทรอย

(20 ต.ค. 65) ลูซี มีชีวิตอยู่บนพื้นโลกเมื่อ 3.2 ล้านปีก่อน การศึกษาซากของเธอช่วยให้นักบรรพชีวินวิทยาได้เข้าใจถึงวิวัฒนาการของมนุษย์ได้อย่างลึกซึ้ง นักดาราศาสตร์ก็คาดหวังว่า ยานลูซีจะช่วยให้ความเข้าใจในวิวัฒนาการของระบบสุริยะแจ่มชัดยิ่งขึ้นในทำนองเดียวกัน ...

แมวเหมียวเที่ยวอวกาศ

(29 ก.ย. 65) ย้อนหลังไปในยุคทศวรรษ 1960 โลกยังอยู่ในบรรยากาศของสงครามเย็นระหว่างสองมหาอำนาจ การชิงความเป็นใหญ่ลุกลามไปถึงห้วงอวกาศ ทั้งโซเวียตและสหรัฐอเมริกาต่างเร่งพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ โดยมีดวงจันทร์เป็นหลักชัย 
ท่ามกลางสมรภูมิใหญ่ของสองยักษ์ใหญ่ ประเทศเล็ก ๆ อย่างฝรั่งเศสก็มีโครงการอวกาศ ...

อาร์เทมิส บันไดสามขั้นสู่การนำมนุษย์กลับไปเดินบนดวงจันทร์

(31 ส.ค. 65) อาร์เทมิส 1 เป็นภารกิจแรกของโครงการอาร์เทมิส ซึ่งมีเป้าหมายใหญ่อยู่ที่การนำมนุษย์กลับไปเยือนดวงจันทร์อีกครั้ง โครงการอาร์เทมิสต่างจากโครงการอะพอลโลในหลายมิติ อะพอลโลมีเป้าหมายเพียงนำมนุษย์ไปให้ถึง ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และนำ ...

ชุมนุมจรวดยักษ์

(29 ส.ค. 65) ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ความจำเป็นในการสร้างจรวดรุ่นใหญ่เริ่มกลับมาอีกครั้ง จึงเริ่มมีจรวดจอมพลังหลายรุ่นทยอยออกมาอวดโฉมกัน ลองมาดูกันว่า จรวดรุ่นยักษ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและรวมไปถึงอนาคตอันใกล้มีรุ่นใดกันบ้าง ...

อาร์เทมิส 1 ทำอะไร

(28 ส.ค. 65) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 ผู้คนทั่วโลกโดยเฉพาะในวงการอวกาศต่างจับจ้องไปที่ศูนย์การบินอวกาศเคนเนดีในรัฐฟลอริดา ที่นั่น มีจรวดยักษ์สีส้มสูงตระหง่านฟ้าลำหนึ่งตั้งอยู่บนฐานส่งจรวด 39 บี เมื่อถึงเวลา 13:47 น. ตามเวลาประเทศไทย จรวดยักษ์ลำนั้นก็แผดเสียงคำรามกึกก้อง เปลวไฟพุ่งออกจากส่วนฐานพร้อมกับควันไฟและก้อนไอน้ำพวยพุ่งขึ้นมา ...

แนนซี เกรซ โรมัน “แม่ของฮับเบิล”

(13 ส.ค. 65) ตื่นเต้นกับผลงานของเจมส์เวบบ์ซึ่งถือว่าเป็น “ทายาทฮับเบิล” กันมาพอสมควรแล้ว ถึงเวลามาทำความรู้จัก “แม่ของฮับเบิล” กันบ้าง ...

เพกาซัส ม้าติดปีกแห่งสรวงสวรรค์

(23 ก.ค. 65) คนในแวดวงดาราศาสตร์ก็คุ้นเคยชื่อเพกาซัสเป็นอย่างดี เพราะเป็นชื่อของกลุ่มดาว กลุ่มดาวเพกาซัส เขียนในภาษาละตินว่า Pegasus มีชื่อไทยว่า กลุ่มดาวม้าบิน เป็นกลุ่มดาวขนาดใหญ่ที่เป็นที่รู้จักกันดี เพราะมีความสว่าง โดดเด่น สังเกตง่าย และที่สำคัญเป็นหนึ่งในกลุ่มดาว ...

ไมรา ดาวมหัศจรรย์

(10 ก.ค. 65) ดาวไมราเป็นดาวแปรแสงดวงหนึ่ง ดาวแปรแสงหมายความว่าเป็นดาวที่มีความสว่างไม่คงที่ บนท้องฟ้ามีดาวแปรแสงอยู่มากมาย การแปรแสงของดาวฤกษ์เกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งจากปัจจัยภายนอก เช่นถูกวัตถุอื่นบัง ถูกดาวที่เป็นคู่กันมาบดบังไป หรืออาจเกิดจากภายใน เช่นดาวมีแผ่พลังงานออกมาไม่คงที่ นัก ...

บลูมูน แมนเชสเตอร์ซิตี้ และจันทร์เพ็ญ

(22 พ.ค. 65) คำว่า บลูมูน (blue Moon) แปลตรงตัวว่าดวงจันทร์สีน้ำเงิน แต่คำนี้ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับสีของดวงจันทร์ แต่หมายถึงจันทร์เพ็ญที่เกิดขึ้นเป็นครั้งที่สองในหนึ่งเดือนปฏิทิน ซึ่งจะว่าไปก็แทบไม่มีความหมายอะไรเป็นพิเศษในทางดาราศาสตร์ นอกจาก ...

ซูเปอร์มูน ใหญ่จริงหรือ

(16 พ.ค. 65) หลายปีที่ผ่านมา มีปรากฏการณ์ท้องฟ้าชื่อใหม่ชื่อหนึ่งปรากฏสู่สื่อต่าง ๆ หลายแหล่ง นั่นคือ ซูเปอร์มูน โดยมักจะมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ว่าจะเกิดซูเปอร์มูนในวันที่นั้นวันที่นี้ ให้ประชาชนติดตามดู เพราะเป็นปรากฏการณ์ที่น่าชม ...

ไปดูดาวริมเขื่อนกันไหม

(4 พ.ค. 65) การเลือกทำเลดูดาว ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ หรือดูเพื่อความบันเทิงแบบไม่จริงจัง มีหลักทั่วไปเหมือนกันสองสามข้อก็คือ ต้องมืด ไม่มีแสงรบกวน ห่างไกลจากแสงสว่างจากชุมชน ขอบฟ้าต้องกว้าง ไม่มีสิ่งบดบังมากนัก ...

สีดาวเคราะห์ในนาฬิกาคอลเล็กชัน ไบโอเซรามิกมูนสวอตช์

(26 มี.ค. 65) นาฬิกาคอลเล็กชันนี้วางขายที่ไหน ขายเรือนละเท่าไหร่ ไม่ใช่เรื่องที่เราจะมาเล่ากัน แต่เรื่องที่อยากมาชวนคุยก็คือเรื่อง สี ของนาฬิกาแต่ละเรือนที่สื่อถึงดาวแต่ละดวง ...

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์ “ทายาทสายตรง” ของฮับเบิล

(18 ธ.ค. 64) กล้องฮับเบิลผ่านใช้งานอย่างหนักมาแล้วถึง 31 ปี แม้จะยังไม่มีการกำหนดวันปลดระวางที่แน่นอน แต่ก็คาดว่าคงจะทำหน้าที่ต่อไปได้อีกจนถึงทศวรรษหน้าเป็นอย่างมาก หลังจากพ้นยุคของฮับเบิลไปแล้ว ก็จะเข้าสู่ยุคของกล้องโทรทรรศน์อวกาศกล้องใหม่ ที่นาซาวางตัวไว้ให้เป็น “ทายาทฮับเบิล” กล้องนี้มีชื่อว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์ (James Webb Space Telescope) ...

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับอัตราดาวตกในฝนดาวตก

(11 ส.ค. 64) ในรอบปีมีฝนดาวตกเกิดขึ้นหลายครั้ง แต่ละกลุ่มมีอัตราดาวตกไม่เท่ากัน มีทั้งที่น้อยในระดับไม่กี่ดวงต่อชั่วโมงไปจนถึงมากกว่า 100 ดวงต่อชั่วโมง ข้อมูลฝนดาวตกโดยทั่วไปมักจะบอกตัวเลขอัตราสูงสุดของฝนดาวตกกลุ่มนั้น ซึ่งอาจทำให้คนจำนวนมากเข้าใจผิดว่าการสังเกตดาวตกจะสามารถมองเห็นดาวตกเท่ากับจำนวนดังกล่าวได้ตลอดทั้งคืน แต่ในความเป็นจริงยังมีปัจจัยอื่นที่ทำให้เรามีโอกาสเห็นดาวตกได้ต่ำกว่าตัวเลขนั้นเสมอ ...
.
1
.

จากเว็บไซต์อื่น

  • Internet STELLAR DATABASE ฐานข้อมูลดาวฤกษ์
  • The NGC/IC Product Public Access NGC/IC Database ฐานข้อมูลวัตถุท้องฟ้าตามบัญชี NGC/IC
  • List of largest optical reflecting telescopes อันดับของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลก
  • Forthcoming Close Approaches To The Earth รายชื่อดาวเคราะห์น้อยที่จะเฉียดเข้าใกล้โลกภายใน 33 ปีข้างหน้า
  • Record-setting Solar Flares อันดับการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์เรียงตามความรุนแรง โดย SpaceWeather.com
  • ดาวเคราะห์น้อย ข้อมูลดาวเคราะห์น้อย เฉพาะดวงที่ใหญ่ที่สุด 40 ดวง
  • Current solar images ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ปัจจุบัน โดยดาวเทียมโซโฮ
  • Solar and Heliospheric Observatory ภาพดวงอาทิตย์ในเวลาปัจจุบัน จากดาวเทียมโซโฮ
  • Big Bear Solar Observatory ภาพถ่ายดวงอาทิตย์รายวันจากหอสังเกตการณ์บิกแบร์
  • List of Potentially Hazardous Asteroids รายชื่อดาวเคราะห์น้อยอันตราย จากศูนย์ดาวเคราะห์น้อยฮาร์วาร์ด
  • Observable Comet ข้อมูลด้านตำแหน่งและองค์ประกอบวงโคจรของดาวหางที่มองเห็นได้ในปัจจุบัน