สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ปรากฏการณ์ท้องฟ้า

กลุ่มดาว
ดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์
ดาวพุธ
ดาวศุกร์
ดาวอังคาร
ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์

ดูปรากฏการณ์ท้องฟ้าอื่น

ข่าวดาราศาสตร์

ปีนี้มี "ดาวใหม่" เห็นได้ด้วยตาเปล่า

(15 มี.ค. 67) กลุ่มดาวมงกุฎเหนือ เป็นกลุ่มดาวขนาดเล็ก แต่ก็สังเกตได้ง่าย มองเห็นได้ง่ายเกือบตลอดปี มีเพียงช่วงฤดูหนาวเท่านั้นที่มองไม่เห็น ใครที่ยังไม่รู้จักกลุ่มดาวนี้ก็รีบหัดดูเสียแต่เนิ่น ๆ เพราะในปีนี้ กลุ่มดาวนี้จะมี "ดาวใหม่" เกิดขึ้นให้มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเลยทีเดียว...

นักดาราศาสตร์ย้ำชัด อะโพฟิสไม่ชนโลกแน่นอน

(7 มี.ค. 67) ภัยคุกคามจากอะโพฟิสยังเป็นไปได้อยู่ แนววิถีของอะโพฟิสเฉียดโลกไปในระยะเฉียดฉิว หากมีเหตุใดที่มาทำให้แนววิถีของอะโพฟิสเบี่ยงเบนไปจากเดิมแม้เพียงเล็กน้อย แนววิถีใหม่อาจเป็นแนวที่ชนโลกก็ได้ ...

ยานสำรวจดวงจันทร์ของญี่ปุ่นคืนชีพ

(29 ก.พ. 67) ยานได้ปฏิบัติงานในสภาพหงายท้องอย่างนั้นได้เป็นเวลาสองวัน เมื่อยามค่ำคืนของดวงจันทร์มาถึง ยานจึงต้องหลับไปอีกครั้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และการหลับครั้งนี้ก็น่าจะเป็นการปิดภารกิจของสลิมด้วย เพราะยานไม่ได้ออกแบบมา...

ดูข่าวอื่น

บทความ

ธรรมเนียมแปลก ๆ ของมนุษย์อวกาศ

(25 มี.ค. 67) การบินอวกาศ เป็นแขนงที่อยู่กับสุดยอดของสหวิทยาการ ต้องพึ่งพาความรู้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมชั้นสูง แม้จะเป็นวงการที่มีรากฐานด้านวิทยาศาสตร์ แต่ในขณะเดียวกันก็เต็มไปด้วยเรื่องความเชื่อ การถือเคล็ด และโชคลาง โดยเฉพาะช่วงก่อนออกเดินทาง ทั้งโดยลูกเรือและเจ้าหน้าที่ภาคพื้นดิน แล้วไม่ใช่เป็นเรื่องทำกันเล่น ...

เมื่อรัสเซียพกปืนไปอวกาศ

(13 มี.ค. 67) ทราบหรือไม่ มนุษย์อวกาศรัสเซียเขาพกปืนขึ้นไปในอวกาศด้วยนะ เรื่องนี้มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยที่ยุคอวกาศเริ่มต้นขึ้น ยานอวกาศที่มีมนุษย์ของฝ่ายโซเวียตไม่ว่าจะเป็นรุ่นบุกเบิกอย่างวอสตอก วอสฮอด และโซยุซ ล้วนเป็นมอดูลที่ออกแบบให้ลงจอดบนแผ่นดิน โดยมีร่มชูชีพคอยพยุงจนพื้นพื้น ...

รู้จักโนวา

(11 ส.ค. 64) โนวาหรือนวดารา (nova) มาจากคำเต็มในภาษาละตินว่า "stella nova" แปลว่าดาวดวงใหม่ หมายถึงดาวที่ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าตรงตำแหน่งที่ไม่เคยมีดาวอยู่ตรงนั้นมาก่อน ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักดาราศาสตร์ยังไม่เข้าใจถ่องแท้ถึงกระบวนการของการเกิดโนวาและซูเปอร์โนวา จึงไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้ ...

รู้จักดาวหาง

(5 มิ.ย. 58) มนุษย์รู้จักดาวหางมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล บันทึกเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับดาวหางเป็นบันทึกของนักดาราศาสตร์ชาวจีนที่เขียนรูปดาวหางลงบนผ้าไหม อยู่ในยุคราชวงศ์ชางของจีน ซึ่งมีอายุถึงกว่าสามพันปีมาแล้ว บันทึกเรื่องของดาวหางจากยุโรปก็มีมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาลเช่นกัน ในอดีต ผู้คนยังไม่รู้จักดาวหางมากไปกว่ารู้ว่าเป็นก้อนอยู่บนฟ้าที่ทอดหางยาว คนในยุคนั้นส่วนใหญ่มองดาวหางไปในทางอัปมงคล เช่นเป็นลางร้าย เป็นทูตแห่งความตายและสงคราม ...

ดูบทความอื่นในห้องสมุด

สนับสนุนโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บริษัท โกรวิ่งพอยท์ โอเอ แอนด์ เน็ทเวิร์ค จำกัด

บทความพิเศษ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับเวลามาตรฐานประเทศไทย
พระมหากษัตริย์ไทยกับดาราศาสตร์
200 ปี พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สื่อการเรียนรู้

กิจกรรมถัดไป

จากทางบ้าน

แสงเหนือ ณ ไอซ์แลนด์
จาก.. ขันติ วสะหลาย
(25 มี.ค. 67)

ภาพอื่น ๆ

คู่มือใช้แผนที่ฟ้า

วิธีใช้แผนที่ฟ้ารุ่น "ชาละวัน" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทยอย่างละเอียด

แผ่นหมุน ๓๐๐ ปีดิถีจันทร์

คู่มือใช้แผ่นหมุน "๓๐๐ ปีดิถีจันทร์" ของสมาคมดาราศาสตร์ไทย (pdf)

วารสารทางช้างเผือก

ตุลาคม-ธันวาคม 2564
คู่มือดูดาวปี 2565

ดูเพิ่ม

Webmaster login