(6 มี.ค. 64) ที่วงโคจรของดาวพฤหัสบดี ไม่ได้มีเพียงดาวพฤหัสบดีเพียงดวงเดียวเท่านั้น หากแต่ยังมีดาวเคราะห์น้อยจำนวนหนึ่งที่ใช้วงโคจรร่วมกับดาวพฤหัสบดี โคจรรอบดวงอาทิตย์ไปด้วยกัน มีสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งเกาะกลุ่มโคจรนำหน้าดาวพฤหัสบดีอยู่ 60 องศา อีกกลุ่ม
...
(4 มี.ค. 64) หลุมดำมีสองชนิดใหญ่ ๆ ชนิดแรกคือ หลุมดำมวลดาวฤกษ์ เกิดจากดาวฤกษ์มวลสูงที่สิ้นอายุขัยแล้วยุบตัวลงไปกลายเป็นหลุมดำ หลุมดำประเภทนี้จึงมีมวลอยู่ในระดับเดียวกับดาวฤกษ์มวลสูง อีกชนิดหนึ่งคือหลุมดำมวลยวดยิ่ง มีมวลสูง
...
(25 ก.พ. 64) นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบมาแล้วมากมาย นับถึงวันนี้มีจำนวนที่ยืนยันแล้วไม่ต่ำกว่า 4,300 ดวง ดาวเคราะห์เหล่านี้ส่วนใหญ่มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือ เป็นดาวเคราะห์ที่โคจรอยู่ใกล้ดาวฤกษ์แม่มาก ใช้เวลา
...
(6 ก.พ. 64) นักดาราศาสตร์สุริยะส่วนใหญ่เชื่อว่า วัฏจักรสุริยะที่ 25 ที่กำลังดำเนินอยู่นี้ จะเป็นวัฏจักรกำลังอ่อนเช่นเดียวกับวัฏจักรที่ผ่านมา แต่งานวิจัยนักดาราศาสตร์คณะหนึ่งกลับแสดงว่า อาจเป็นวัฏจักรที่มีความรุนแรงที่สุดวัฏจักรหนึ่งเท่าที่เคยมีการบันทึกมาก็ได้
...
(29 ม.ค. 64) ในปี 2538 ยานกาลิเลโอขององค์การนาซา ซึ่งเป็นยานสำรวจดาวพฤหัสบดีและบริวาร ได้ปล่อยยานลูกชื่อกาลิเลโอโพรบลงไปบนดาวพฤหัสบดีเพื่อสำรวจบรรยากาศของดาวเคราะห์ยักษ์ดวงนี้ กาลิเลโอโพรบตกลงสู่บรรยากาศดาวพฤหัสบดีบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อย ยานได้ฝ่าบรรยากาศอันหนาแน่นของดาวพฤหัสบดีลง
...
(18 ธ.ค. 63) องค์การอวกาศยุโรปได้ส่งยานโรเซตตาไปสำรวจดาวหาง 67 พี/ชูรูย์มอฟ-เกราซีเมนโค ระหว่างปี 2557-2559 ภารกิจได้สำเร็จลุล่วงไปอย่างงดงาม เป็นยานอวกาศลำแรกที่โคจรรอบดาวหางได้สำเร็จ ปล่อยยานลูกลงไปจอดบนนิวเคลียสดาวหางได้ ข้อมูลจากภารกิจนี้ช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้รู้จักดาวหางมากขึ้น มีการค้นพบใหม่ ๆ หลายอย่าง
...
(3 ธ.ค. 63) ย้อนหลังไป 16 ปี วันที่ 19 มิถุนายน 2547 นักดาราศาสตร์ที่หอดูดาวแห่งชาติคิตต์พีกในทูซอน แอริโซนา ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่ง ต่อมาได้ชื่อว่า 99942 อะโพฟิส (99942 Apophis) เมื่อคำนวณวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ พบว่ามีวงโคจรใกล้วงโคจรโลก มีคาบการโคจร 323.6 วัน
...
(2 ธ.ค. 63) เมื่อวานนี้ (1 ธันวาคม 2563) เวลาราว 8 นาฬิกาตามเวลาท้องถิ่นเปอร์โตริโก แท่นอุปกรณ์หนัก 900 ตันที่ขึงอยู่เหนือจานสายอากาศของกล้องโทรทรรศน์อาเรซีโบได้ถล่มลงมาบนจาน ปิดฉากกล้องโทรทรรศน์วิทยุยักษ์ที่ดำเนิน
...
(4 พ.ย. 63) ดาวแคระน้ำตาล เป็นวัตถุที่มีสมบัติก้ำกึ่งระหว่างดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ ดูเผิน ๆ คล้ายดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ แต่ที่แก่นดาวมีปฏิกิริยาหลอมดิวทีเรียม จึงแผ่ความร้อนออกมาด้วย ดาวแคระน้ำตาลมีความหลากหลายในด้านสมบัติ
...
(3 พ.ย. 63) ช่วงเวลาสองทศวรรษที่ผ่านมา นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบแล้วไม่น้อยกว่า 4,000 ดวง ดาวเคราะห์ที่พบมีความหลากหลายมากทั้งขนาด วงโคจร อุณหภูมิ แต่ทั้งหมดมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือ
...
(29 ต.ค. 63) นับจากยุคที่การสำรวจดวงจันทร์เริ่มต้น นักวิทยาศาสตร์ได้ส่งยานอวกาศไปสำรวจนับสิบลำรวมถึงส่งมนุษย์ไปเดินบนนั้นและเก็บตัวอย่างหินดวงจันทร์กลับมาวิเคราะห์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าดวงจันทร์เป็นดินแดนที่แห้งสนิท ไม่มีแหล่งน้ำ แต่การสำรวจดวงจันทร์ในยุคต่อมา
...
(23 ต.ค. 63) ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์บริวารดวงที่สองของดวงอาทิตย์ มีวงโคจรใกล้โลกมากที่สุด มีขนาดใกล้เคียงโลกมาก แต่สภาพแวดล้อมบนดาวศุกร์กลับต่างจากโลกโดยสิ้นเชิง ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีอุณหภูมิสูงที่สุด ถึง 470 องศา
...
(30 ก.ย. 63) โลกเรามีดวงจันทร์เป็นบริวารซึ่งโคจรรอบโลกมาเป็นเวลาหลายพันล้านปีแล้ว แต่โลกเราไม่ได้มีบริวารดวงเดียวเสมอไป บางครั้งเมื่อมีดาวเคราะห์น้อยผ่านเข้ามาใกล้ก็อาจถูกความโน้มถ่วงของโลกคว้าเอามาโคจรรอบตัวเองได้เหมือนกัน แต่บริวารจำพวกนี้มี
...
(31 ส.ค. 63) ซูเปอร์โนวา เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงของดาวฤกษ์ การเกิดซูเปอร์โนวาแต่ละครั้งจะส่องสว่างได้มากกว่าดาราจักรทั้งดาราจักร นักดาราศาสตร์ตรวจพบซูเปอร์โนวาอยู่เสมอ แต่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ดาราจักรอื่นที่อยู่ห่างไกล เป็นเวลานาน
...
(21 ส.ค. 63) เป็นเวลานานมาแล้วที่นักดาราศาสตร์เชื่อว่าดาวเอส 2 เป็นดาวที่อยู่ใกล้หลุมดำคนยิงธนูเอ* มากที่สุด แต่เมื่อปี 2562 นักดาราศาสตร์พบดาวอีกดวงหนึ่ง มีชื่อว่า เอส 62 ดาวดวงนี้มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์สองเท่า และโคจรรอบหลุมดำครบรอบทุก 10 ปี เป็นดาวที่
...
(19 ส.ค. 63) เมื่อปลายปี 2562 นักดาราศาสตร์ได้สังเกตเห็นว่าดาวเบเทลจุสเริ่มหรี่แสงลงมากอย่างผิดสังเกต จนถึงปลายปี ดาวเบเทลจุสได้หรี่แสงจนคนที่ดูดาวเป็นก็สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตาเปล่า การหรี่แสงยังคงดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ซึ่งความสว่างของดาวได้หายไปถึงสองในสามแล้วการ
...
(16 ส.ค. 63) เมื่อเอ่ยถึงหลุมดำ หลายคนคงจะนึกถึงวัตถุจอมเขมือบที่ดูดกลืนทุกสิ่งทุกอย่างที่เข้าไปใกล้ บริเวณรอบหลุมดำคงจะต้องเป็นแดนแห่งความโกลาหล ทุกสิ่งทุกอย่างในบริเวณนี้จำต้องอยู่ในวาระสุดท้ายก่อนจะถูกกลืนหายไปตลอดกาล แต่ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป เมื่อ
...
(16 ส.ค. 63) เมื่อปี 2559 วงการดาราศาสตร์ได้ตื่นเต้นกับข่าวการค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบดวงหนึ่ง เป็นดาวเคราะห์ของดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า (Proxima Centauri) ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด อยู่ห่างออกไปเพียง 4.2 ปีแสง ดาวเคราะห์ดวงนี้มีชื่อว่า พร็อกซิมาบี ดาวพร็อกซิมาบีมีขนาดใกล้เคียงกับโลก มีมวลมาก
...
(9 ส.ค. 63) น้ำเป็นสิ่งมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดใด แม้แต่สิ่งมีชีวิตในดาวดวงอื่นก็น่าจะเป็นเช่นเดียวกัน ดังนั้นการค้นหาสิ่งมีชีวิตในระบบสุริยะอื่น จึงต้องมุ่งไปที่ดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวแม่ในเขตที่เรียกว่า เขตเอื้ออาศัย ซึ่ง
...
(14 มิ.ย. 63) เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2560 นักดาราศาสตร์พบวัตถุดวงหนึ่งผ่านเข้ามาในระบบสุริยะชั้นใน ในช่วงแรกเข้าใจกันว่าเป็นดาวหางธรรมดาดวงหนึ่ง แต่ต่อมาพบว่าวัตถุดวงนี้มีเส้นทางและความเร็วที่แสดงว่าไม่ได้มีต้นกำเนิดในระบบสุริยะของเรา หากแต่รอน
...