(26 ม.ค. 67) ยานสลิม (SLIM--Smart Lander for Investigating Moon) ได้ลงสัมผัสพื้นผิวเมื่อเวลา 22:20 น.ตามเวลาประเทศไทย ข้อมูลจากยานได้ส่งมาถึงศูนย์ควบคุมบนโลกแสดงว่ายานได้ลงถึงพื้นในสภาพดี ไม่เสียหาย แต่พบว่าแผงเซลล์สุริยะของยาน
...
(19 ม.ค. 67) ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ ดวงจันทร์ของโลกเราเริ่มคึกคักมากขึ้นเรื่อย ๆ มียานอวกาศมากมายจากหลายชาติเดินทางไปสำรวจ ทั้งลงจอดและโคจรรอบ ในเดือนมกราคมนี้ยิ่งน่าสนใจ เพราะมียานอวกาศเดินทางไปเยือนดวงจันทร์ถึงสอง
...
(7 ม.ค. 67) ในทศวรรษ 1980 ยานวอยเอเจอร์ 2 ได้เดินทางไปถึงขอบนอกของเขตดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ยานได้เข้าเฉียดดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน และถ่ายภาพดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ในระยะใกล้ ยานได้ส่งภาพดาวเคราะห์สองดวงนี้กลับมา ทำให้เป็น
...
(7 ธ.ค. 66) ในบรรดาดาวหางทั้งหมดที่มนุษย์รู้จัก ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ดาวหางดวงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตลอดกาลคือ ดาวหางแฮลลีย์ มีชื่อตามระบบว่า 1 พี/แฮลลีย์ (1P/Halley) เป็นดาวหางที่มีบันทึกการพบเห็นมาอย่างยาวนานกว่า 2,000 ปี ดาวหางดวงนี้มีคาบ
...
(13 พ.ย. 66) การค้นพบของกล้องเทสส์เมื่อไม่นานมานี้ ได้พบดาวเคราะห์ต่างระบบดวงหนึ่ง แต่มีสมบัติอยู่ต่างจากดาวเคราะห์ส่วนใหญ่อย่างสิ้นเชิง แทนที่จะเป็นดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์แม่อย่างใกล้ชิด แต่ดาวเคราะห์ดวงนี้มีคาบโคจรนานถึง 482
...
(9 พ.ย. 66) วัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องปกติในระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์พบวัตถุประเภทนี้มาแล้วหลายดวง เช่นนิวเคลียสของดาวหาง 67พี/ชูรูยมอฟ-เกราซีเมนโค ดาวอาร์โรคอต ส่วนบริวารของดาวเคราะห์น้อยก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์น้อยหลายดวงที่มีบริวาร แต่บริวารดาวเคราะห์น้อยที่เป็นวัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องใหม่อย่างแท้จริง ดิงคิเนชเป็นวัตถุดวงแรกใน
...
(8 พ.ย. 66) นักดาราศาสตร์จากสถาบันดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในฮูสตัน นำโดย แมตต์ เวลเลอร์ ได้ศึกษาดาวศุกร์แล้วพบว่าองค์ประกอบของบรรยากาศของดาวศุกร์ในปัจจุบันดูจะไม่สอดคล้องกับเปลือกดาวแบบแผ่นเดียว จึงได้สร้างแบบจำลองดาวศุกร์ด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อหาว่ามีเงื่อนไขใด
...
(4 พ.ย. 66) ยานได้สังเกตเห็นความผิดปกติในความสว่างของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเป็นระยะ ซึ่งเป็นสิ่งบอกเหตุว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยคู่ หรืออาจมีบริวารโคจรรอบอยู่ เมื่อยานเข้าใกล้จนถ่ายภาพความละเอียดสูงได้
...
(29 ต.ค. 66) การหาแหล่งน้ำบนดวงจันทร์ มีความหมายอย่างมากต่อการสำรวจดวงจันทร์หรือแม้แต่การตั้งถิ่นฐานบนดวงจันทร์ในอนาคต เพราะน้ำเป็นทรัพยากรที่สำคัญแต่มีน้ำหนักมาก หากมีน้ำบนดวงจันทร์เป็นจำนวนมากจริง ก็หมายความ
...
(23 ส.ค. 66) วันนี้ (23 สิงหาคม 2566) อินเดียกลายเป็นประเทศแรกในโลกที่ส่งยานไปลงจอดบนขั้วใต้ของดวงจันทร์ได้สำเร็จ "ความสำเร็จในครั้งนี้ไม่ใช่ของอินเดียเท่านั้น แต่เป็นของมนุษยชาติทั้งมวล" นเรนทระ โมที นายกรัฐมนตรีอินเดียกล่าวหลังจากทราบข่าวความ
...
(22 ส.ค. 66) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2566 จรวดโซยุซ-2.1บี ได้พายานลูนา-25 ขึ้นสู่อวกาศจากแท่นปล่อยจรวดที่ท่าอวกาศยานวอสทอคนี เป้าหมายของยานลำนี้คือ การนำยานลงจอดบนดวงจันทร์บริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์เพื่อสำรวจสภาพทางธรณีวิทยาและแหล่งน้ำ รวมถึงบรร
...
(16 ส.ค. 66) บนยานอินไซต์มีอุปกรณ์ตัวเก่งตัวหนึ่งชื่อว่า ไรส์ (RISE--Rotation and Interior Structure Experiment) อุปกรณ์นี้ช่วยให้นักดาราศาสตร์ทราบถึงโครงสร้างภายในของดาวอังคาร โดยการวัดการกวัด (nutation) ซึ่งเป็นผลจากการเคลื่อนที่ของของเหลวภายในดาว ข้อมูลจากการวัดคลื่นไหวสะเทือนพบว่า ดาวอังคารมีแกนที่มี
...
(5 ส.ค. 66) โครงการลูนา เป็นโครงการสำรวจดวงจันทร์ของสหภาพโซเวียต เกิดขึ้นมาเกือบจะพร้อมกับการเริ่มต้นของยุคอวกาศ เริ่มต้นในปี 2502 โครงการนี้เป็นโครงการที่บุกเบิกเทคโนโลยีอวกาศที่สำคัญ สร้างการค้นพบครั้งสำคัญเอาไว้หลายครั้ง โดยเฉพาะภารกิจลูนา 3 ที่ทำให้โลกตะลึงด้วยการไปอ้อมหลังดวงจันทร์และถ่ายภาพ
...
(22 ก.ค. 66) เป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษแล้วที่ไม่มีใครส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์ แต่ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าเราอาจเห็นมนุษย์กลับไปเดินบนดวงจันทร์อีกครั้ง ไม่เพียงแต่มนุษย์อวกาศจากนาซาเท่านั้น เราอาจได้เห็นมนุษย์อวกาศจีนลงไปเดินบนดวงจันทร์ในเวลา
...
(4 ก.ค. 66) ไม่เพียงแต่หลุมดำมวลดาวฤกษ์เท่านั้นที่สร้างคลื่นความโน้มถ่วงได้ นักดาราศาสตร์เชื่อว่าหลุมดำยักษ์หรือที่เรียกว่าหลุมดำมวลยวดยิ่งก็สร้างคลื่นความโน้มถ่วงได้เช่นกันหากมีคู่ที่โคจรรอบกันเอง นักดาราศาสตร์เชื่อว่ามีหลุมดำมวลยวดยิ่งคู่อยู่มากมายในเอกภพที่แผ่คลื่นความโน้มถ่วงออกมา
...
(25 มิ.ย. 66) เฟทอนเป็นวัตถุแปลกประหลาด แม้จะได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์น้อย เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 กิโลเมตร ไม่ใช่วัตถุน้ำแข็งแบบดาวหาง แต่ก็กลับมีหางด้วย เป็นหางที่ประกอบด้วยฝุ่นเป็นหลัก ทำให้บางคนเรียกเฟทอนว่าเป็นดาวหางฝุ่น นักดารา
...
(19 มิ.ย. 66) หลังจากที่เสียแชมป์ให้แก่ดาวพฤหัสบดีไปไม่ถึงครึ่งปี ดาวเสาร์ก็ทวงตำแหน่งคืนได้อีกครั้ง สำหรับการเป็นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์บริวารมากที่สุดในระบบสุริยะ เมื่อนักดาราศาสตร์พบบริวารของดาวเสาร์เพิ่มขึ้นคราวเดียวถึง 62 ดวง
...
(19 มิ.ย. 66) คณะนักดาราศาสตร์จากสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ นำโดยคริสโตเฟอร์ กลีน ได้เปิดเผยผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากยานแคสซีนีขององค์การนาซาที่ได้สำรวจดาวเสาร์และบริวารจากวงโคจรเป็นเวลา 13 ปี พบสิ่งที่เป็นการเพิ่มความน่าจะเป็นที่จะพบสิ่ง
...
(15 มิ.ย. 66) นักดาราศาสตร์พยายามค้นหาหลุมดำมวลปานกลางมาเป็นเวลานานแล้ว จนถึงปัจจุบันมีรายงานการพบหลุมดำมวลปานกลางบ้าง แต่ก็มีเป็นจำนวนน้อยมาก และส่วนใหญ่ก็เป็นการค้นพบทางอ้อมและไม่อาจยืนยันได้ชัดเจน
...
(5 เม.ย. 66) ภารกิจดาร์ต (DART-- Double Asteroid Redirection Test) เป็นภารกิจของนาซาที่ส่งยานไปพุ่งชนพุ่งชนดาวเคราะห์น้อย เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อการโคจรเพื่อในไปวิเคราะห์และปรับใช้ในการชนเพื่อเบี่ยงดาวเคราะห์น้อยอันตรายดวงอื่นที่อาจพุ่งเข้ามาชนโลกในอนาคต
...