(20 เม.ย. 67) เมื่อมีการตรวจจับคลื่นความโน้มถ่วงได้ นักดาราศาสตร์จะวิเคราะห์ลักษณะของคลื่น เพื่อสืบสาวไปได้ว่า การชนนั้นเกิดขึ้นที่ใด ไกลออกไปเท่าใด และวัตถุที่มาชนจนทำให้เกิดคลื่นนั้น มีมวลเท่าใด มวลของวัตถุก็บอกได้ว่าวัตถุนั้นเป็นวัตถุชนิดใด
...
(15 มี.ค. 67) ตั้งแต่ต้นปี 2567 นักดาราศาสตร์เริ่มสังเกตได้ว่า ดาวดวงนี้เริ่มหรี่แสงลงอีกอย่างผิดสังเกตอีกแล้ว นับจากเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ความสว่างลดลงไปราว 0.5 อันดับ ซึ่งนับเป็นช่วงที่ดาวดวงนี้มีความสว่างน้อยที่สุดนับจากที่พ้นช่วงหรี่แสงครั้งใหญ่เมื่อ
...
(15 มี.ค. 67) กลุ่มดาวมงกุฎเหนือ เป็นกลุ่มดาวขนาดเล็ก แต่ก็สังเกตได้ง่าย มองเห็นได้ง่ายเกือบตลอดปี มีเพียงช่วงฤดูหนาวเท่านั้นที่มองไม่เห็น ใครที่ยังไม่รู้จักกลุ่มดาวนี้ก็รีบหัดดูเสียแต่เนิ่น ๆ เพราะในปีนี้ กลุ่มดาวนี้จะมี "ดาวใหม่" เกิดขึ้นให้มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเลยทีเดียว
...
(7 มี.ค. 67) ภัยคุกคามจากอะโพฟิสยังเป็นไปได้อยู่ แนววิถีของอะโพฟิสเฉียดโลกไปในระยะเฉียดฉิว หากมีเหตุใดที่มาทำให้แนววิถีของอะโพฟิสเบี่ยงเบนไปจากเดิมแม้เพียงเล็กน้อย แนววิถีใหม่อาจเป็นแนวที่ชนโลกก็ได้
...
(29 ก.พ. 67) ยานได้ปฏิบัติงานในสภาพหงายท้องอย่างนั้นได้เป็นเวลาสองวัน เมื่อยามค่ำคืนของดวงจันทร์มาถึง ยานจึงต้องหลับไปอีกครั้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และการหลับครั้งนี้ก็น่าจะเป็นการปิดภารกิจของสลิมด้วย เพราะยานไม่ได้ออกแบบมา
...
(22 ก.พ. 67) แถบไคเปอร์ คือบริเวณแนววงแหวนรอบระบบสุริยะ มีระยะตั้งแต่ 30 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ หรือประมาณวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป เป็นบริเวณที่มีวัตถุขนาดเล็กที่ประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจำนวนมาก เช่นดาวหาง ดาวเคราะห์แคระ บริเวณที่
...
(16 ก.พ. 67) มนุษย์อวกาศรัสเซียสร้างสถิติใหม่ในวงการอวกาศอีกแล้ว เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2567 โอเลก โคโนเนนโก ได้กลายเป็นมนุษย์ที่ใช้ชีวิตสะสมบนอวกาศนานที่สุด แซงหน้าเจ้าของสถิติเดิมของเพื่อนร่วมชาติ เกนนาดี ปาดัลกา ที่เคยทำไว้ 878 วัน 11 ชั่วโมง 29 นาที และ 48
...
(28 ม.ค. 67) แสงแวบเขียวไม่ได้เกิดกับดวงอาทิตย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น เมื่อวันที่ 8 มกราคมที่ผ่านมา เวลาเช้ามืด ปีเตอร์ โรเซน ช่างภาพชาวสวีเดนถ่ายภาพแสงแวบเขียวเกิดขึ้นกับดาวศุกร์ได้ในสตอกโฮล์ม เมื่อแสงส่องผ่านชั้นบรรยากาศ แสงที่มีความยาวคลื่นสั้น เช่นแสงสีฟ้า สีม่วง จะกระเจิงออกไปมากที่สุด ในขณะที่แสงที่มี
...
(28 ม.ค. 67) ดาวบีตาขาตั้งภาพ (Beta Pictoris) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างเป็นอันดับสองในกลุ่มดาวขาตั้งภาพ เป็นดาวฤกษ์อายุน้อยมากเพียงประมาณ 20 ล้านปี อยู่ห่างจากโลกเพียง 63 ปีแสง ในปี 2527 นักดาราศาสตร์พบว่าดาวดวงนี้มีจานฝุ่นล้อมรอบอยู่ ต่อมา
...
(26 ม.ค. 67) ยานสลิม (SLIM--Smart Lander for Investigating Moon) ได้ลงสัมผัสพื้นผิวเมื่อเวลา 22:20 น.ตามเวลาประเทศไทย ข้อมูลจากยานได้ส่งมาถึงศูนย์ควบคุมบนโลกแสดงว่ายานได้ลงถึงพื้นในสภาพดี ไม่เสียหาย แต่พบว่าแผงเซลล์สุริยะของยาน
...
(19 ม.ค. 67) ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ ดวงจันทร์ของโลกเราเริ่มคึกคักมากขึ้นเรื่อย ๆ มียานอวกาศมากมายจากหลายชาติเดินทางไปสำรวจ ทั้งลงจอดและโคจรรอบ ในเดือนมกราคมนี้ยิ่งน่าสนใจ เพราะมียานอวกาศเดินทางไปเยือนดวงจันทร์ถึงสอง
...
(7 ม.ค. 67) ในทศวรรษ 1980 ยานวอยเอเจอร์ 2 ได้เดินทางไปถึงขอบนอกของเขตดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ยานได้เข้าเฉียดดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน และถ่ายภาพดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ในระยะใกล้ ยานได้ส่งภาพดาวเคราะห์สองดวงนี้กลับมา ทำให้เป็น
...
(7 ธ.ค. 66) ในบรรดาดาวหางทั้งหมดที่มนุษย์รู้จัก ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ดาวหางดวงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตลอดกาลคือ ดาวหางแฮลลีย์ มีชื่อตามระบบว่า 1 พี/แฮลลีย์ (1P/Halley) เป็นดาวหางที่มีบันทึกการพบเห็นมาอย่างยาวนานกว่า 2,000 ปี ดาวหางดวงนี้มีคาบ
...
(13 พ.ย. 66) การค้นพบของกล้องเทสส์เมื่อไม่นานมานี้ ได้พบดาวเคราะห์ต่างระบบดวงหนึ่ง แต่มีสมบัติอยู่ต่างจากดาวเคราะห์ส่วนใหญ่อย่างสิ้นเชิง แทนที่จะเป็นดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์แม่อย่างใกล้ชิด แต่ดาวเคราะห์ดวงนี้มีคาบโคจรนานถึง 482
...
(9 พ.ย. 66) วัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องปกติในระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์พบวัตถุประเภทนี้มาแล้วหลายดวง เช่นนิวเคลียสของดาวหาง 67พี/ชูรูยมอฟ-เกราซีเมนโค ดาวอาร์โรคอต ส่วนบริวารของดาวเคราะห์น้อยก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์น้อยหลายดวงที่มีบริวาร แต่บริวารดาวเคราะห์น้อยที่เป็นวัตถุคู่สัมผัสเป็นเรื่องใหม่อย่างแท้จริง ดิงคิเนชเป็นวัตถุดวงแรกใน
...
(8 พ.ย. 66) นักดาราศาสตร์จากสถาบันดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในฮูสตัน นำโดย แมตต์ เวลเลอร์ ได้ศึกษาดาวศุกร์แล้วพบว่าองค์ประกอบของบรรยากาศของดาวศุกร์ในปัจจุบันดูจะไม่สอดคล้องกับเปลือกดาวแบบแผ่นเดียว จึงได้สร้างแบบจำลองดาวศุกร์ด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อหาว่ามีเงื่อนไขใด
...
(4 พ.ย. 66) ยานได้สังเกตเห็นความผิดปกติในความสว่างของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเป็นระยะ ซึ่งเป็นสิ่งบอกเหตุว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยคู่ หรืออาจมีบริวารโคจรรอบอยู่ เมื่อยานเข้าใกล้จนถ่ายภาพความละเอียดสูงได้
...
(29 ต.ค. 66) การหาแหล่งน้ำบนดวงจันทร์ มีความหมายอย่างมากต่อการสำรวจดวงจันทร์หรือแม้แต่การตั้งถิ่นฐานบนดวงจันทร์ในอนาคต เพราะน้ำเป็นทรัพยากรที่สำคัญแต่มีน้ำหนักมาก หากมีน้ำบนดวงจันทร์เป็นจำนวนมากจริง ก็หมายความ
...
(23 ส.ค. 66) วันนี้ (23 สิงหาคม 2566) อินเดียกลายเป็นประเทศแรกในโลกที่ส่งยานไปลงจอดบนขั้วใต้ของดวงจันทร์ได้สำเร็จ "ความสำเร็จในครั้งนี้ไม่ใช่ของอินเดียเท่านั้น แต่เป็นของมนุษยชาติทั้งมวล" นเรนทระ โมที นายกรัฐมนตรีอินเดียกล่าวหลังจากทราบข่าวความ
...
(22 ส.ค. 66) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2566 จรวดโซยุซ-2.1บี ได้พายานลูนา-25 ขึ้นสู่อวกาศจากแท่นปล่อยจรวดที่ท่าอวกาศยานวอสทอคนี เป้าหมายของยานลำนี้คือ การนำยานลงจอดบนดวงจันทร์บริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์เพื่อสำรวจสภาพทางธรณีวิทยาและแหล่งน้ำ รวมถึงบรร
...