สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ปรากฏการณ์ท้องฟ้า

ปรากฏการณ์ท้องฟ้า
ท้องฟ้าขณะนี้
ท้องฟ้าวันนี้
บทความย้อนหลัง

ท้องฟ้าเดือนนี้ (ธันวาคม 2567)

1
  • จันทร์ดับ (13:21 น.)
3
  • • ดวงจันทร์มีเดคลิเนชันไปทางใต้มากที่สุด (-28.5°) (05:24 น.)
4
  • • เวลาเช้ามืด ดาวอังคารอยู่ใกล้กระจุกดาวรังผึ้งในกลุ่มดาวปูที่ระยะ 2.1°
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวศุกร์ 7°
  • • ดาวเสาร์อยู่ที่ตำแหน่งตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ไปทางทิศตะวันออก (บนท้องฟ้าเวลาหัวค่ำ)
5
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวศุกร์ 6°
6
  • • ดาวพุธผ่านตำแหน่งร่วมทิศแนววงใน (09:18 น.)
  • • ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุด (4.08937 หน่วยดาราศาสตร์) (17:03 น.)
  • • ดาวพุธผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดบนวงโคจร (0.30750 หน่วยดาราศาสตร์) (21:22 น.)
8
  • • ดาวพฤหัสบดีอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ (03:58 น.)
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวเสาร์ 1°
  • จันทร์กึ่งข้างขึ้น (22:27 น.)
9
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวเนปจูน 2°
10
  • • ดวงจันทร์อยู่ที่จุดโหนดขึ้น (02:36 น.)
12
  • • ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกที่สุด (365,361 กม.) (20:20 น.)
13
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวยูเรนัส 5°
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้กระจุกดาวลูกไก่ในกลุ่มดาววัว 3° หลังจากนั้นในเวลาราวเที่ยงคืน ดวงจันทร์จะเข้าบังดาวฤกษ์บางดวงของกระจุกดาวลูกไก่
14
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี 6°
15
  • • เวลาหัวค่ำ ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี 6° (ใกล้ขอบฟ้า)
  • จันทร์เพ็ญ (16:02 น.)
16
  • • ดวงจันทร์มีเดคลิเนชันไปทางเหนือมากที่สุด (28.4°) (03:08 น.)
  • • ดาวพุธหยุดนิ่ง (ก่อนเคลื่อนไปข้างหน้า) (04:14 น.)
18
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวอังคาร 7°
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวพอลลักซ์ในกลุ่มดาวคนคู่ 6° (05:50 น.)
  • • ดาวเนปจูนอยู่ที่ตำแหน่งตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ไปทางทิศตะวันออก (บนท้องฟ้าเวลาหัวค่ำ)
19
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวอังคาร 7°
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้กระจุกดาวรังผึ้งในกลุ่มดาวปู 5°
20
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวหัวใจสิงห์ (เรกูลัส) ในกลุ่มดาวสิงโต 6°
21
  • • ดวงอาทิตย์ผ่านตำแหน่งเหมายัน (16:21 น.)
23
  • จันทร์กึ่งข้างแรม (05:18 น.)
  • • ดวงจันทร์อยู่ที่จุดโหนดลง (06:22 น.)
24
  • • ดวงจันทร์อยู่ไกลโลกที่สุด (404,485 กม.) (14:25 น.)
25
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวรวงข้าว (สไปกา) ในกลุ่มดาวหญิงสาว 2°
  • • ดาวพุธทำมุมห่างจากดวงอาทิตย์ที่สุด (22.0° ตะวันตก)
29
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวพุธ 7°
  • • เวลาเช้ามืด ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวปาริชาต (แอนทาเรส) ในกลุ่มดาวแมงป่อง 5°
30
  • • ดวงจันทร์มีเดคลิเนชันไปทางใต้มากที่สุด (-28.4°) (12:00 น.)
31
  • จันทร์ดับ (05:27 น.)

แผนที่ฟ้า

ณ กรุงเทพ (ละติจูด 13.76 ลองจิจูด 100.502) เขตเวลา 7

วันที่

[แผนที่ใหญ่] [เปลี่ยนสถานที่สังเกต]

ปฏิทินดิถีจันทร์

ธันวาคม 2567
อา พฤ
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031

หมายเหตุ ดิถีจันทร์ที่แสดง คือดิถีจริงของดวงจันทร์ ซึ่งอาจไม่ตรงกับวันที่ตามปฏิทินจันทรคติ ดังนั้น วันจันทร์เพ็ญอาจไม่ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ วันจันทร์ดับอาจไม่ตรงกับวันแรม 14/15 ค่ำ

  • จันทร์ดับ 1 ธ.ค. (13:21 น.)
  • จันทร์กึ่งข้างขึ้น 8 ธ.ค. (22:26 น.)
  • จันทร์เพ็ญ 15 ธ.ค. (16:01 น.)
  • จันทร์กึ่งข้างแรม 23 ธ.ค. (05:18 น.)
  • จันทร์ดับ 31 ธ.ค. (05:26 น.)

ปฏิทินดิถีจันทร์ตลอดปี 2567

ท้องฟ้ารายสัปดาห์

16–22 ธันวาคม ดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวอังคาร

เวลาดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ขึ้น-ตก

ตารางแสดงเวลาขึ้นและตกของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ จำแนกรายจังหวัด

เวลาเกิดแสงสนธยาและเวลาดวงอาทิตย์ขึ้น-ตก

ตารางแสดงเวลาเกิดแสงสนธยา จำแนกรายจังหวัดทั่วไทย

คาดหมายการเห็นจันทร์เสี้ยว

ผลการคำนวณเพื่อคาดหมายโอกาสการเห็นจันทร์เสี้ยว จำแนกรายจังหวัด

พ.ศ. 2568 วงแหวนดาวเสาร์ล่องหน

23 ส.ค. 67/โดย วิมุติ วสะหลาย

ฝนดาวตกในปี 2567

25 ธ.ค. 66/โดย วรเชษฐ์ บุญปลอด

ดาวเคราะห์ในปี 2567

25 ธ.ค. 66/โดย วรเชษฐ์ บุญปลอด

สุริยุปราคาและจันทรุปราคาในปี 2567

25 ธ.ค. 66/โดย วรเชษฐ์ บุญปลอด

เหตุใดดาวศุกร์จึงสว่างนัก

11 ก.ค. 66/โดย วิมุติ วสะหลาย

บทความย้อนหลังทั้งหมด >>